แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม ”
สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร
หัวหน้าโครงการ
นางสาว ศศิธร มิ่งขวัญมา
ชื่อโครงการ ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม
ที่อยู่ สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-กทม.0 เลขที่ข้อตกลง 61-กทม.05
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม
บทคัดย่อ
โครงการ " ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม " ดำเนินการในพื้นที่ สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหัสโครงการ 61-กทม.0 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพนักเรียนให้นักเรียนรักการออกกำลังกายและขยับร่างกายในเวลาว่างในกิจกรรมประจำวันและบริโภคผักและผลไม้เป็นประจำอย่างเพียงพอตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกนั้น นับได้ว่ามีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ด้วยปัจจุบันนักเรียนมีการเล่นที่เคลื่อนไหวร่างกาย และการบริโภคผักและผลไม้ของเด็กน้อยลง และส่งผลถึงเด็กนักเรียนที่เป็นสมาชิกในบ้าน ขาดการดูแล ขาดความรู้ความเข้าใจ การสนับสนุนจากครอบครัว ทั้งในเรื่องการออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการเล่น และในการบริโภคอาหารให้มีสัดส่วนของผักและผลไม้เพียงพอต่อวัน ซึ่งเมื่ออยู่ที่โรงเรียนนักเรียนยังคงเลือกการเล่นที่ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย และขาดอุปกรณ์ในการเล่น การออกกำลังกาย เลือกรับประทานอาหารที่นักเรียนชอบเท่านั้น และไม่เลือกผักที่ประกอบเป็นอาหารรับประทาน เลือกที่จะไม่รับประทานและต้องทิ้งเป็นจำนวนมาก
โรงเรียนวัดราษฎร์นิยมธรรม(พิบูลสงคราม) ตระหนักในความสำคัญของการให้นักเรียนมีสุขภาพดี โดยมีการจัดหากิจกรรมออกกำลังกาย การเล่นโดยใช้อุปกรณ์ ในเวลาพักหรือว่างจากการเรียนในชั้นเรียน การบริโภคผักผลไม้เป็นประจำอย่างเพียงพอ(400 กรัมต่อวัน) ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพในด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องขับถ่าย ลดความเสี่ยงจากโรคอ้วน โรคติดต่อไม่เรื้อรัง ที่มีผลต่อสุขภาพ อาทิเช่น โรคหัวใจ โรคไขมันในเลือด และโรคมะเร็งและส่งผลถึงประสิทธิภาพของการเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ ด้วยเหตุผลและความสำคัญดังกล่าวโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการ “ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียน ครู บุคลากรของโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและการบริโภคผักและผลไม้ในชีวิตประจำวันตามข้อแนะนำ (400 กรัมต่อวัน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
- อบรมให้ความรู้และปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพ การออกกำลังกาย และการรับประทานผักและผลไม้
- จัดกิจกรรมทางกาย
- กิจกรรมสัปดาห์ "ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม"
- ผลิตอุปกรณ์การเล่น ฮูล่าฮูบ เชือกกระโดด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
199
วัยเรียน (6-12 ปี)
855
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
65
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียน ครู บุคลากรของโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและการบริโภคผักและผลไม้ในชีวิตประจำวันตามข้อแนะนำ (400 กรัมต่อวัน)
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
2. นักเรียนร้อยละ 70 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
3. มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมอย่างน้อย เดือนละ 4 ครั้ง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1119
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
199
วัยเรียน (6-12 ปี)
855
วัยรุ่น (13-15 ปี)
-
เยาวชน (15-20 ปี)
-
วัยทำงาน
65
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-กทม.0
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาว ศศิธร มิ่งขวัญมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม ”
สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานครหัวหน้าโครงการ
นางสาว ศศิธร มิ่งขวัญมา
ชื่อโครงการ ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม
ที่อยู่ สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-กทม.0 เลขที่ข้อตกลง 61-กทม.05
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม
บทคัดย่อ
โครงการ " ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม " ดำเนินการในพื้นที่ สายไหม ตำบลสายไหม อำเภอบางเขน จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหัสโครงการ 61-กทม.0 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพนักเรียนให้นักเรียนรักการออกกำลังกายและขยับร่างกายในเวลาว่างในกิจกรรมประจำวันและบริโภคผักและผลไม้เป็นประจำอย่างเพียงพอตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกนั้น นับได้ว่ามีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ด้วยปัจจุบันนักเรียนมีการเล่นที่เคลื่อนไหวร่างกาย และการบริโภคผักและผลไม้ของเด็กน้อยลง และส่งผลถึงเด็กนักเรียนที่เป็นสมาชิกในบ้าน ขาดการดูแล ขาดความรู้ความเข้าใจ การสนับสนุนจากครอบครัว ทั้งในเรื่องการออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการเล่น และในการบริโภคอาหารให้มีสัดส่วนของผักและผลไม้เพียงพอต่อวัน ซึ่งเมื่ออยู่ที่โรงเรียนนักเรียนยังคงเลือกการเล่นที่ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย และขาดอุปกรณ์ในการเล่น การออกกำลังกาย เลือกรับประทานอาหารที่นักเรียนชอบเท่านั้น และไม่เลือกผักที่ประกอบเป็นอาหารรับประทาน เลือกที่จะไม่รับประทานและต้องทิ้งเป็นจำนวนมาก โรงเรียนวัดราษฎร์นิยมธรรม(พิบูลสงคราม) ตระหนักในความสำคัญของการให้นักเรียนมีสุขภาพดี โดยมีการจัดหากิจกรรมออกกำลังกาย การเล่นโดยใช้อุปกรณ์ ในเวลาพักหรือว่างจากการเรียนในชั้นเรียน การบริโภคผักผลไม้เป็นประจำอย่างเพียงพอ(400 กรัมต่อวัน) ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพในด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องขับถ่าย ลดความเสี่ยงจากโรคอ้วน โรคติดต่อไม่เรื้อรัง ที่มีผลต่อสุขภาพ อาทิเช่น โรคหัวใจ โรคไขมันในเลือด และโรคมะเร็งและส่งผลถึงประสิทธิภาพของการเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ ด้วยเหตุผลและความสำคัญดังกล่าวโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการ “ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้ 3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียน ครู บุคลากรของโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและการบริโภคผักและผลไม้ในชีวิตประจำวันตามข้อแนะนำ (400 กรัมต่อวัน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
- อบรมให้ความรู้และปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพ การออกกำลังกาย และการรับประทานผักและผลไม้
- จัดกิจกรรมทางกาย
- กิจกรรมสัปดาห์ "ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม"
- ผลิตอุปกรณ์การเล่น ฮูล่าฮูบ เชือกกระโดด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 199 | |
วัยเรียน (6-12 ปี) | 855 | |
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | 65 | |
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้
3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียน ครู บุคลากรของโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและการบริโภคผักและผลไม้ในชีวิตประจำวันตามข้อแนะนำ (400 กรัมต่อวัน) ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้ 2. นักเรียนร้อยละ 70 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและการรับประทานผักและผลไม้ 3. มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมอย่างน้อย เดือนละ 4 ครั้ง |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1119 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 199 | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | 855 | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | 65 | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ออกกำลังกายดี กินผักผลไม้ได้ 400 กรัม จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-กทม.0
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาว ศศิธร มิ่งขวัญมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......