แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ขยับกาย สไตล์ น.บ. ”
ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นาย เวชยันต์ สรรพเศียร
ชื่อโครงการ ขยับกาย สไตล์ น.บ.
ที่อยู่ ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-ต.08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ขยับกาย สไตล์ น.บ. จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ขยับกาย สไตล์ น.บ.
บทคัดย่อ
โครงการ " ขยับกาย สไตล์ น.บ. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-ต.08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาทเป็นโรงเรียนในเขตพื้นที่ในตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง มีนักเรียน จำนวน 113 คน และบุคลากร จำนวน 14 คน เนื่องจากเป็นโรงเรียนที่ห่างไกลจากเขตเมือง ทำให้นักเรียนไม่สามารถเลือกรับประทานอาหารที่หลากหลายได้ อาหารที่รับประทานส่วนใหญ่จะเป็นพวกแป้ง และน้ำตาลสูง เป็นผลให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการเกิน หรือเรียกอีกอย่างว่าเด็กมีน้ำหนักเกินในอัตราที่สูง อาจก่อให้เกิดภาวะของโรคต่าง ๆ ได้ เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ฯลฯเด็กจะเหนื่อยง่าย ขาดความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรม และความสนใจด้านการเรียนลดลงบริเวณหน้าโรงเรียนและในชุมชนมีการขายอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ขายน้ำอัดลม และขนมกรุบกรอบ ทำให้นักเรียนเกิดปัญหาสุขภาพอันเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมขาดความรู้ในเรื่องการบริโภครวมทั้งเกิดจากการขาดการออกกำลังกายอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับวัย
ด้วยเหตุนี้ทางโรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท จึงได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของนักเรียน ในกลุ่มดังกล่าว จึงมีแนวคิดในการจัดทำโครงการ“ขยับกายสไตล์ น.บ.”เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ด้านการบริโภค การดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างสมดุลของร่างกายได้อย่างเหมาะสม โดยประยุกต์การออกกำลังกาย กับการละเล่น ด้วยการกระโดดยางวงประกอบจังหวะตื่นเต้นเร้าใจ ในรูปแบบการละเล่นยางวงที่หลากหลายวิธี ชักชวนเพิ่มความสนใจที่จะมาร่วมในการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีการออกกำลังกาย
- โรงเรียนสร้างกลุ่มต้นแบบในการขับเคลื่อนชุมชนด้านการบริโภคและการออกกำลังกายอย่างน้อย 1กลุ่ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้เข้าร่วมเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
- นักเรียนเข้าร่วมโครงการ ขยับกาย สไตล์ น.บ.
- โรงเรียนสร้างกลุ่มต้นแบบในการขับเคลื่อนชุมชนด้านการบริโภคและการออกกำลังกายอย่างน้อย 1 กลุ่ม
- ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนทำกิจกรรม
- วิทยากรสอนด้วยวิธีต่างๆด้วยยางเส้นและยางวง
- จัดทำเพลงออกกำลังกายสไตล์ น.บ.
- ทดสอ่บสมรรถภาพทางกายหลังทำกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
20
วัยเรียน (6-12 ปี)
88
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
47
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
57
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. นักเรียนเข้าร่วมโครงการ ขยับกาย สไตล์ น.บ.
วันที่ 5 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ออกกำลังกายด้วยการกระโดดยางวงและละเล่นยางวง ในจังหวะรูปแบบต่างๆ ในกิจกรรมหน้าเสาธงในตอนเช้า ของทุกวันและ ตอนบ่าย 14.30 น. ในวันจันทร์ อังคาร พุธ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าดัชมีมวลกาย (ฺBMI)ลดลง จากก่อนเข้าร่วมโครงการ ความยาวรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
0
0
2. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1
วันที่ 7 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ร้อยละ 70
88
0
3. ผู้เข้าร่วมเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
วันที่ 10 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ การดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้องตามหลัก 3 อ คือ อาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนนักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ พัฒนาศักยภาพและทักษะในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ ได้และสามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง
150
0
4. จัดทำเพลงออกกำลังกายสไตล์ น.บ.
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
แต่งเนื้อร้อง ทำนอง จัดทำเพลง พร้อม อัดเสียงในห้องอัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความสนุกและรักการออกกำลังกาย เมื่อนำเพลงมาใช้ประกอบท่าเต้น
0
0
5. วิทยากรสอนด้วยวิธีต่างๆด้วยยางเส้นและยางวง
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
วิทยากรฝึกออกกำลังกาย 8 ครั้ง ด้วยวิธีดังต่อไปนี้
- สอนด้วยนวัตกรรมการกระโดดยาง
- สอนตามฐานการออกกำลังกายด้วยยางเส้น
- สอนเต้นประกอบเพลงด้วยยางเส้น
- สอนด้วยการกระโดดยางรูปแบบต่างๆ
- สอนแบบ Active learning
- สอนแบบใช้องค์ความรู้ด้วยยางเส้น
- สอนด้วยการกระโดดยาง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้รับการออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่หลากหลาย อีกทั้งยังรู้จักออกแบบท่าทางการกระโดดยางเส้น และออกแบบการร้อยยางเส้นได้
มีความสุขและสนุกกับการละเล่นยางตามฐานต่างๆ
0
0
6. ทดสอ่บสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2
วันที่ 13 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน ดังนี้ นั่งงอตัว ดันพื้น 30 วินาที ลุกนั่ง 1 นาที และวิ่งระยะไกล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มมีปัญหา มีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 2 สูงกว่า การทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1 เท่ากับร้อยละ 4.68
88
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
ตัวชี้วัด : จำนวนนักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ พัฒนาศักยภาพและทักษะในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ ได้และสามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง
85.00
2
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) ลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
85.00
3
โรงเรียนสร้างกลุ่มต้นแบบในการขับเคลื่อนชุมชนด้านการบริโภคและการออกกำลังกายอย่างน้อย 1กลุ่ม
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มหรือชมรมการออกกำลังกายภายในโรงเรียนที่ดำเนินการต่อเนื่อง
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
212
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
20
วัยเรียน (6-12 ปี)
88
วัยรุ่น (13-15 ปี)
0
เยาวชน (15-20 ปี)
0
วัยทำงาน
47
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
57
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ขยับกาย สไตล์ น.บ. จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-ต.08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นาย เวชยันต์ สรรพเศียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ขยับกาย สไตล์ น.บ. ”
ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรังหัวหน้าโครงการ
นาย เวชยันต์ สรรพเศียร
ชื่อโครงการ ขยับกาย สไตล์ น.บ.
ที่อยู่ ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-ต.08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ขยับกาย สไตล์ น.บ. จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ขยับกาย สไตล์ น.บ.
บทคัดย่อ
โครงการ " ขยับกาย สไตล์ น.บ. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-ต.08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาทเป็นโรงเรียนในเขตพื้นที่ในตำบลแหลมสอม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง มีนักเรียน จำนวน 113 คน และบุคลากร จำนวน 14 คน เนื่องจากเป็นโรงเรียนที่ห่างไกลจากเขตเมือง ทำให้นักเรียนไม่สามารถเลือกรับประทานอาหารที่หลากหลายได้ อาหารที่รับประทานส่วนใหญ่จะเป็นพวกแป้ง และน้ำตาลสูง เป็นผลให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการเกิน หรือเรียกอีกอย่างว่าเด็กมีน้ำหนักเกินในอัตราที่สูง อาจก่อให้เกิดภาวะของโรคต่าง ๆ ได้ เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ฯลฯเด็กจะเหนื่อยง่าย ขาดความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรม และความสนใจด้านการเรียนลดลงบริเวณหน้าโรงเรียนและในชุมชนมีการขายอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ขายน้ำอัดลม และขนมกรุบกรอบ ทำให้นักเรียนเกิดปัญหาสุขภาพอันเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมขาดความรู้ในเรื่องการบริโภครวมทั้งเกิดจากการขาดการออกกำลังกายอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับวัย
ด้วยเหตุนี้ทางโรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท จึงได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของนักเรียน ในกลุ่มดังกล่าว จึงมีแนวคิดในการจัดทำโครงการ“ขยับกายสไตล์ น.บ.”เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ด้านการบริโภค การดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างสมดุลของร่างกายได้อย่างเหมาะสม โดยประยุกต์การออกกำลังกาย กับการละเล่น ด้วยการกระโดดยางวงประกอบจังหวะตื่นเต้นเร้าใจ ในรูปแบบการละเล่นยางวงที่หลากหลายวิธี ชักชวนเพิ่มความสนใจที่จะมาร่วมในการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีการออกกำลังกาย
- โรงเรียนสร้างกลุ่มต้นแบบในการขับเคลื่อนชุมชนด้านการบริโภคและการออกกำลังกายอย่างน้อย 1กลุ่ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้เข้าร่วมเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
- นักเรียนเข้าร่วมโครงการ ขยับกาย สไตล์ น.บ.
- โรงเรียนสร้างกลุ่มต้นแบบในการขับเคลื่อนชุมชนด้านการบริโภคและการออกกำลังกายอย่างน้อย 1 กลุ่ม
- ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนทำกิจกรรม
- วิทยากรสอนด้วยวิธีต่างๆด้วยยางเส้นและยางวง
- จัดทำเพลงออกกำลังกายสไตล์ น.บ.
- ทดสอ่บสมรรถภาพทางกายหลังทำกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 20 | |
วัยเรียน (6-12 ปี) | 88 | |
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | 47 | |
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | 57 | |
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. นักเรียนเข้าร่วมโครงการ ขยับกาย สไตล์ น.บ. |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำออกกำลังกายด้วยการกระโดดยางวงและละเล่นยางวง ในจังหวะรูปแบบต่างๆ ในกิจกรรมหน้าเสาธงในตอนเช้า ของทุกวันและ ตอนบ่าย 14.30 น. ในวันจันทร์ อังคาร พุธ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าดัชมีมวลกาย (ฺBMI)ลดลง จากก่อนเข้าร่วมโครงการ ความยาวรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
|
0 | 0 |
2. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำทดสอบสมรรถภาพทางกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ร้อยละ 70
|
88 | 0 |
3. ผู้เข้าร่วมเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ การดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้องตามหลัก 3 อ คือ อาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนนักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ พัฒนาศักยภาพและทักษะในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ ได้และสามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง
|
150 | 0 |
4. จัดทำเพลงออกกำลังกายสไตล์ น.บ. |
||
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำแต่งเนื้อร้อง ทำนอง จัดทำเพลง พร้อม อัดเสียงในห้องอัด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความสนุกและรักการออกกำลังกาย เมื่อนำเพลงมาใช้ประกอบท่าเต้น
|
0 | 0 |
5. วิทยากรสอนด้วยวิธีต่างๆด้วยยางเส้นและยางวง |
||
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำวิทยากรฝึกออกกำลังกาย 8 ครั้ง ด้วยวิธีดังต่อไปนี้ - สอนด้วยนวัตกรรมการกระโดดยาง - สอนตามฐานการออกกำลังกายด้วยยางเส้น - สอนเต้นประกอบเพลงด้วยยางเส้น - สอนด้วยการกระโดดยางรูปแบบต่างๆ - สอนแบบ Active learning - สอนแบบใช้องค์ความรู้ด้วยยางเส้น - สอนด้วยการกระโดดยาง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้รับการออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่หลากหลาย อีกทั้งยังรู้จักออกแบบท่าทางการกระโดดยางเส้น และออกแบบการร้อยยางเส้นได้ มีความสุขและสนุกกับการละเล่นยางตามฐานต่างๆ
|
0 | 0 |
6. ทดสอ่บสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 13 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน ดังนี้ นั่งงอตัว ดันพื้น 30 วินาที ลุกนั่ง 1 นาที และวิ่งระยะไกล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มมีปัญหา มีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 2 สูงกว่า การทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1 เท่ากับร้อยละ 4.68
|
88 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) ตัวชี้วัด : จำนวนนักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ พัฒนาศักยภาพและทักษะในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ ได้และสามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง |
85.00 | |||
2 | นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) ลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ |
85.00 | |||
3 | โรงเรียนสร้างกลุ่มต้นแบบในการขับเคลื่อนชุมชนด้านการบริโภคและการออกกำลังกายอย่างน้อย 1กลุ่ม ตัวชี้วัด : มีกลุ่มหรือชมรมการออกกำลังกายภายในโรงเรียนที่ดำเนินการต่อเนื่อง |
80.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 212 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 20 | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | 88 | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 0 | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | 0 | ||
วัยทำงาน | 47 | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | 57 | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ขยับกาย สไตล์ น.บ. จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-ต.08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นาย เวชยันต์ สรรพเศียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......