PA Thailand (Physical Activity Thailand)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ โครงการ Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school. ”

ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกุลญา ฉาวเกียรติคุณ

ชื่อโครงการ โครงการ Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school.

ที่อยู่ ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ

รหัสโครงการ 61-กทม.0 เลขที่ข้อตกลง 61-กทม.0

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school. จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school.



บทคัดย่อ

โครงการ " Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school." ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 61- กทม.03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000 บาท จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - นักเรียนชั้นประถมศึกปีที่ 6 จำนวน 170 คน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning) ในโรงเรียนคลองปลัดเปรียง ให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การฝึกนักเรียนในระหว่างการทดสอบสมรรถภาพควรมีครูพี่เลี้ยงคอยช่วย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาพการทำงานและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนทั่วโลกมีพฤติกรรมเนือยนิ่ง อยู่ในท่านั่ง ท่านอน ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานมากขึ้น ขณะที่สถานการณ์ของเด็กและเยาวชนก็มีพฤติกรรมจมตัวเองและหมกหมุ่นกับโลกโซเซียลมีเดีย ส่งผลให้คนทุกวัยมีความเสี่ยงในปัญหาสุขภาพ ที่เป็นบ่อเกิดของกลุ่มโรคร้าย Non-Communicable Diseases (NCDs) หรือโรคติดต่อไม่เรื้อรัง ที่คร่าชีวิตคนบนโลกนี้ไปมากที่สุด
กอปรกับผลการสำรวจที่ สสส.ร่วมกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า เด็กไทยมีแนวโน้มออกกำลังกายน้อยลงอย่างน่าเป็นห่วง ซึ่งอาจเนื่องมาจากการที่สังคมเปลี่ยนแปลงจากสภาพสังคม เพราะเด็กๆ ไม่ค่อยออกมาเล่น แต่ชอบดูทีวี เล่นโซเซียลมีเดีย โดยใช้เวลาอยู่หน้าจอเฉลี่ยวันละ 3 ชั่วโมงต่อวัน เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่กล่าวมา โรงเรียนควรเพิ่มกิจกรรมทางกายในโรงเรียนให้มากขึ้น เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความสุขและสนุกกับการทำกิจกรรมทางกาย อันจะส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออกซึ่งพฤติกรรมหรือการเคลื่อนไหวอย่างเป็นรูปธรรม ทำให้ผู้ปกครองทราบถึงคามคิด จินตนาการ อารมณ์ และความรู้สึกที่แท้จริง นับได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ช่วยเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ให้กับร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ได้เป็นอย่างดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  3. เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมโรงเรียนสะอาด ด้วยมือเรา
  2. กิจกรรมหนูหนู ฟันดี กับ สูตรคูณพาเพลิน
  3. กิจกรรมกีฬามหาสนุก
  4. กิจกรรมพัฒนาจิต เจริญปัญญา
  5. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1-2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 43
วัยเรียน (6-12 ปี) 127
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปีมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
  2. โรงเรียนจัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
  3. นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายหลังการจัดกิจกรรม Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school. สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม
  4. โครงการ Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school.
    มีประสิทธิผลอยู่ในระดับดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมโรงเรียนสะอาด ด้วยมือเรา

วันที่ 20 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ปฏิบัติกิจกรรมทุกวัน เวลา 07.30 – 07.45 น. รวม 15 นาที นักเรียนชั้นอนุบาล 2 ถึง นักเรียนชั้นประถมศึกปีที่ 6 จำนวน 170 คน แบ่งออกเป็น 5 สี (คละชั้นเรียน) ปฏิบัติหน้าที่ จิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์พัฒนาพื้นที่ภายในโรงเรียน ให้สะอาดพร้อมใช้งานโดยแต่ละสีแบ่งหน้าที่กัน ดังนี้ สีเหลือง – ล้างห้องน้ำชาย-หญิง สีแดง - หน้าอาคารเรียน, สนาม สีฟ้า – บริเวณหน้าโรงเรียน สีเขียว- บริเวณโรงอาหาร,สนามเด็กเล่น สีม่วง – สนามเด็กเล่น ห้องพยาบาล คุณครูและนักเรียนชั้นอนุบาล 2 –3 ร่วมกันเก็บขยะหน้าห้องอนุบาล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อการปลูกฝังจิตใจให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรมจริยธรรมซึ่งเป็นเรื่อง ที่เกิดจากภายใน "จิตสาธารณะ" เป็นสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญในการปลูกจิตสำนึกให้คนรู้จักเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ มีความร่วมมือในการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเป็นหลักการในการดำเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม

 

170 0

2. กิจกรรมหนูหนู ฟันดี กับ สูตรคูณพาเพลิน

วันที่ 20 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ปฏิบัติกิจกรรมทุกวัน เวลา 12.10 – 12.30 น. รวม 20 นาที นักเรียนชั้นประถมคึกษาปี 1- 6 แปรงฟันเพื่อการดูแลช่องปาก และท่องสูตรคูณประกอบท่าทาง ส่วนนักเรียนชั้นอนุบาล 2 –3 แปรงฟันที่ห้องเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีสุขภาพปากและฟันที่ดี  และนักเรียนสามารถท่องสูตรคูณได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่วแม่นยำ และช่วยทำให้ระบบอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายมีการเคลื่อนไหว แข็งแรง คงทน และทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรง

 

170 0

3. กิจกรรมกีฬามหาสนุก

วันที่ 21 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ปฏิบัติกิจกรรมวันพุธ เวลา 14.30 –15.30 น. และช่วงเวลาเลิกเรียนของทุกวัน นักเรียนชั้นอนุบาล 2 – นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ฝึกซ้อมการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล, ฟุตบอล, เปตอง, และเครื่องออกกำลังกายอื่น ๆ ตามความถนัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเครียด ความวิตกกังวล ช่วยการนอนหลับให้ดีขึ้น และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

170 0

4. กิจกรรมพัฒนาจิต เจริญปัญญา

วันที่ 23 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ปฏิบัติกิจกรรมทุกวันศุกร์ เวลา 08.30 – 09.30 น. นักเรียนชั้นอนุบาล 2 – นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ร่วมกันสวดมนต์ทำนองสรภัญญะและนั่งสมาธิ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อทำให้นักเรียนมีจิตใจได้ผ่อนคลายความตึงเครียด จิตใจผ่องใส เกิดความสงบเยือกเย็น เป็นผู้ที่มีจิตใจเมตตา กรุณา เห็นอกเห็นใจผู้อื่น  และทำให้เกิดประสิทธิภาพในการศึกษาเล่าเรียน

 

170 0

5. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1-2

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ปฏิบัติทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อนและหลังการปฏิบัติกิจกรรม
ปฏิบัติทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1 วันที่ 26 สิงหาคม 2562 ปฏิบัติทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2 วันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 1. ทดสอบความอ่อนตัว 2. ทดสอบดันพื้น 30 วินาที 3. ทดสอบลุก- นั่ง 1 นาที
4. ทดสอบวิ่งระยะไกล 5. ชั่งน้ำหนัก - ส่วนสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2 สูงกว่า ครั้งที่ 1

 

170 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (วันละอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ทุกวันใน 1 สัปดาห์)
50.00 60.00 55.00

นักเรียนมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมในช่วงวัยนี้จึงเป็นกิจกรรมที่ได้รับการออกแบบให้ส่งเสริมพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น กิจกรรมการเดิน การทรงตัว การวิ่ง กระโดด ปีนป่าย ฯลฯ

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
50.00 60.00 55.00

นักเรียนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในแต่ละวันนักเรียนได้เล่นกีฬาเปตอง ฟุตบอล แบดมินตัน เครื่องออกกำลังกาย ในช่วงเวลากลางวัน หลังเลิกเรียน

3 เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาเรียนในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็กที่จัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
15.00 20.00 18.00

นักเรียนมีความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง มีสมาธิ ก่อนเข้าเรียน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 43 43
วัยเรียน (6-12 ปี) 127 127
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ 0

บทคัดย่อ*

โครงการ " Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school." ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 61- กทม.03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000 บาท จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - นักเรียนชั้นประถมศึกปีที่ 6 จำนวน 170 คน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning) ในโรงเรียนคลองปลัดเปรียง ให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การฝึกนักเรียนในระหว่างการทดสอบสมรรถภาพควรมีครูพี่เลี้ยงคอยช่วย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. วัยที่แตกต่างกันของเด็ก
  2. อุปกรณ์การทดสอบสมรรถภาพทางกายไม่เพียงพอ
  3. สถานที่

 

  1. การฝึกนักเรียนในระหว่างการทดสอบสมรรถภาพควรมีครูพี่เลี้ยงคอยช่วย

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school.

รหัสโครงการ 61-กทม.0 รหัสสัญญา 61-กทม.0 ระยะเวลาโครงการ 20 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ Active play Active learning thinking for health of klongpraratpreang school. จังหวัด สมุทรปราการ

รหัสโครงการ 61-กทม.0

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกุลญา ฉาวเกียรติคุณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด