PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

นวัตกรรมตาราง 9 ช่องส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ นวัตกรรมตาราง 9 ช่องส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ ”

จังหวัดชัยภูมิ

หัวหน้าโครงการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมพร จุลมาศ

ชื่อโครงการ นวัตกรรมตาราง 9 ช่องส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ

ที่อยู่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ

รหัสโครงการ 61-ตอน.0 เลขที่ข้อตกลง 61-ตอน.02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"นวัตกรรมตาราง 9 ช่องส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดชัยภูมิ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
นวัตกรรมตาราง 9 ช่องส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ



บทคัดย่อ

โครงการ “นวัตกรรมตาราง 9 ช่อง ส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ” รหัสโครงการ 61-ตอน.02 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย โดยคิดรูปแบบการออกกำลังกายโดยใช้นวัตกรรมตาราง 9 ช่อง ประกอบกิจกรรมการเคลื่อนไหว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ของประสาทและกล้ามเนื้อ ทั้งซีกซ้ายและขวาที่เท่ากัน สร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา สร้างความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและหายใจ เพิ่มปฏิกิริยาการรับรู้และตอบสนองต่อการเคลื่อนที่ ใช้เพลงที่มีจังหวะสนุกสนาน ซึ่งจังหวะเพลงจะเป็นตัวกำหนดจังหวะ    ของการเคลื่อนไหว โดยใช้เวลาต่อเนื่องประมาณ 30 - 60 นาที เพื่อช่วยเพิ่มการเผาผลาญพลังงานประมาณ 150 - 250 แคลอรี่ สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และโคเลสเตอรอลในกระแสเลือด เหมาะสำหรับบุคคล ทุกเพศ ทุกวัย ควรทำทุกวันหรืออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 – 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุน งบประมาณ จำนวน 35,000 บาท เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการโดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นแกนนำ จำนวน 91 คน เป็นสมาชิกภายใน 5 ชุมชน จำนวน 250 คน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏคือผู้เข้าร่วมโครงการ มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายดีขึ้นทุกด้าน และมีเครือข่ายการออกกำลังกายเพิ่มอีก 5 ชุมชน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตชัยภูมิ ได้ตระหนักถึงข้อเท็จจริงนี้จึงคิดรูปแบบการออกกำลังกายโดยใช้วัตกรรมตาราง 9 ช่องประยุกต์ เป็นการออกแบบท่าออกกำลังกายที่สร้างความสัมพันธ์ของประสาทและกล้ามเนื้อทั้งซีกซ้ายและขวาที่เท่ากันความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและหายใจ ใช้เพลงที่สนุกสนาน เพิ่มปฏิกิริยาการรับรู้และตอบสนองต่อการเคลื่อนที่ มีการใช้เสียงเพลงและบีสเพลงเป็นตัวกำหนดจังหวะของการเคลื่อนไหวและความหนักของงานใช้เวลาต่อเนื่องประมาณ 40 -60 นาที ช่วยเพิ่มการเผาผลาญพลังงานประมาณ 150 - 250 แคลอรี่ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและโคเลสเตอรอลในกระแสเลือดจึงเหมาะสำหรับบุคคล ทุกเพศ ทุกวัย ควรทำทุกวัน หรืออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตชัยภูมิ เห็นความสำคัญ จึงจัดทำโครงการนวัตกรรมตาราง 9 ช่องส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนจังหวัดชัยภูมิ ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้ใช้กิจกรรมทางกายเป็นกิจกรรมที่เสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยตาราง 9 ช่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. การประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อวางแผนดำเนินการ 2. การอบรมให้ความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาพ 3. การทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย4. ครูและนักนักศึกษาร่วมกันออกแบบท่าออกกำลังกายด้วย ตาราง 9 ช่องกล่องประยุกต์ และไลค์ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ 5. นำท่าออกกำลังก
  2. 1. การประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
  3. 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มแกนนำ
  4. 3. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
  5. 4. ฝึกทักษะผู้นำ และนำออกกำลังกายด้วยตาราง 9 ช่อง กลุ่มแก่นนำ
  6. 5. ขยายผลการออกกำลังกายด้วยตาราง 9 ช่อง สู่ 5 ชุมชน
  7. 6. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
  8. 7. สรุปส่งงวกที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 100
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี) 150
วัยทำงาน 30
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง 30
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 40 คน 2. แกนนำได้ความรู้ทักษะการเป็นผู้นำและจัดโปรแกรมการออกกำลังกายใส่นวัตกรรมตาราง 9 ช่อง 3. ได้ทราบผลสมรรถภาพทางกาย 4.แก่นนำได้ฝึกทักษะการนำการสอน ทำให้มีสมรรถภาพดีขึ้น 5. มีเครือข่ายการออกกำลังกาย 5 ชุมชน 6. ทราบปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน 7. เปรียบเทียบสมรรถภาพทางกาย เปรียบเทียบ ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แผนงานโครงการที่ได้รับอนุมัติ

วันที่ 19 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมรายละเอียดสัญญาดำเนินการดำโครงการและสัญญา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนนักศึกษา มีสมรรถภาพดีขึ้น

 

0 0

2. 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มแกนนำ

วันที่ 21 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดวันดำเนินการโครงการจัดอบรมแกนนำ 2 วัน วันที่ 21-22 สิงหาคม 2562 คำสั่ง เชิญประชุม ขอใช้สถานที่ เชิญวิทยากร หนังสือเชิญประธาน คำกล่าว บัญชีลงเวลา
กำหนดการ ดำเนินการอบรม สรุปรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนแกน 50 คน ได้รับความรู้และรูปแบบการจัดโปรแกรมและการคิดท่าการเคลื่อนไหวประกอบตาราง 9 ช่อง

 

50 0

3. 3. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ คน นัดหมายวันเวลา ทำการทดสอบ สรุปรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาทำการทดสอบ นักศึกษากลุ่มแกนนำ ทั้ง 2 คณะ จำนวน 91 คน

 

91 0

4. 4. ฝึกทักษะผู้นำ และนำออกกำลังกายด้วยตาราง 9 ช่อง กลุ่มแก่นนำ

วันที่ 27 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนแบ่งกลุ่มผู้นำ 5 กลุ่ม ประจำวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 17.30-18.30 น. กำหนด ระยะวันเวลาในการฝึก ตารางวันเริ่ม - สิ้นสุด พร้อมชื่อผู้นำฝึกแต่ละวัน ดำเนินการฝึกตามวันเวลา สรุปรายงานแต่ละวัน สรุปรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำในการฝึกจำนวน 91 คน ผลสมรรถภาพทางกายดีขึ้น

 

91 0

5. 5. ขยายผลการออกกำลังกายด้วยตาราง 9 ช่อง สู่ 5 ชุมชน

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนแบ่งกลุ่มแกนนำ 5 กลุ่ม
กำหนดวัน เวลา ในการออกไปขยายผล ประสานงาน 5 ชุมชน เพื่อขยายผลการออกกำลังกายด้วยตาราง 9 ช่อง 1. ชุมชนโรงเรียนบ้านเล่าวิทยาคาร ตำบลบ้านเล่า อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 2. ชุมชนโรงเรียนบ้านเขว้าวิทยายน  ตำบลบ้านเขว้า อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ 3.  ชุมชนโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง  ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 4.  ชุมชนโรงเรียนบ้านหนองบัวขาว ตำบลชีลอง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 5.  ชุมชนโรงเรียนบ้านเขว้าศึกษา  ตำบลบ้านเขว้า  อำเภอบ้านเขว้า  จังหวัดชัยภูมิ ดำเนินการขยายผลตามกำหนดการ ตารางลงเวลา ลงชื่อ รายงานทุกวัน สรุปรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

5 ชุมชนๆละ 50 คน รวม 250 คน ได้ทำกิจกรรมทางกาย ด้วย ตาราง 9 ช่อง

 

250 0

6. 6. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

วันที่ 14 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทำการเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ ทำการทดสอบ สรุปรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับการทดสอบ 91 คน ผลการทำสมรรถภาพทางกาย

 

91 0

7. 7. สรุปส่งงวกที่ 2

วันที่ 16 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายละเอียดส่งตามสัญญา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รุปเล่มโครงการทั้งหมด

 

91 0

8. 1. การประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

หนังสือเชิญประชุม กำหนดการ ใบลงเวลา คำสั่ง สรุปรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม 40 คน ผล แผนงานการดำเนินงานโครงการทั้งหมด

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักศึกษา มีความรู้ ประสบการได้ฝึกการเป็นผู้นำการออกกำลังกาย ส่งผลให้นักศึกษามีสุขภาพดี มีภาวการณ์เป็นผู้นำที่เห็นได้ชัดเจน คือ นักศึกษามีสมรรถภาพระบบไหลเวียนเลือดดีขึ้น จำนวน 91 คน
  2. มีเครือข่ายการออกกำลังกายในจังหวัดชัยภูมิ เพิ่มขึ้น 5 ชุมชน โดยใช้นวัตกรรมตาราง 9 ช่องที่มีรูปแบบการออกกำลังกายที่ สนุกสนาน ส่งเสริมความสัมพันธ์ของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ จำนวน 250 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยตาราง 9 ช่อง
ตัวชี้วัด : จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมการออกกกำลังกายด้วยตาราง 9 ช่อง
50.00 250.00 341.00

กลุ่มนักศึกษา 91 คน และ 5 ชุมชนๆละ 50 คน รวม 341 คน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) 100 50
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0 100
เยาวชน (15-20 ปี) 150 150
วัยทำงาน 30 30
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 30 11
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง 30
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการ “นวัตกรรมตาราง 9 ช่อง ส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ” รหัสโครงการ 61-ตอน.02 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย โดยคิดรูปแบบการออกกำลังกายโดยใช้นวัตกรรมตาราง 9 ช่อง ประกอบกิจกรรมการเคลื่อนไหว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ของประสาทและกล้ามเนื้อ ทั้งซีกซ้ายและขวาที่เท่ากัน สร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา สร้างความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและหายใจ เพิ่มปฏิกิริยาการรับรู้และตอบสนองต่อการเคลื่อนที่ ใช้เพลงที่มีจังหวะสนุกสนาน ซึ่งจังหวะเพลงจะเป็นตัวกำหนดจังหวะ    ของการเคลื่อนไหว โดยใช้เวลาต่อเนื่องประมาณ 30 - 60 นาที เพื่อช่วยเพิ่มการเผาผลาญพลังงานประมาณ 150 - 250 แคลอรี่ สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และโคเลสเตอรอลในกระแสเลือด เหมาะสำหรับบุคคล ทุกเพศ ทุกวัย ควรทำทุกวันหรืออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 – 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุน งบประมาณ จำนวน 35,000 บาท เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการโดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นแกนนำ จำนวน 91 คน เป็นสมาชิกภายใน 5 ชุมชน จำนวน 250 คน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏคือผู้เข้าร่วมโครงการ มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายดีขึ้นทุกด้าน และมีเครือข่ายการออกกำลังกายเพิ่มอีก 5 ชุมชน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


นวัตกรรมตาราง 9 ช่องส่งเสริมกิจกรรมทางกายสู่ชุมชนชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ

รหัสโครงการ 61-ตอน.0

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมพร จุลมาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด