PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2) ”

ตำบลวัฒนานคร อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว

หัวหน้าโครงการ
อาจารย์ ดร. พัชรวดี พูลสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลวัฒนานคร อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว จังหวัด สระแก้ว

รหัสโครงการ 61-ตอ.01 เลขที่ข้อตกลง ุ61-ตอ.01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2019 ถึง 16 ธันวาคม 2019


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2) จังหวัดสระแก้ว" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัฒนานคร อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกวิธีการออกกำลังกายที่ตรงกับความสนใจและทักษะตนเอง (4) เพื่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม (5) ่เพื่อการปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร (6) เพื่อการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (7) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักการรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจความต้องการในการเลือประเภทกออกกำลังกายตามความสนใจ (2) การปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร (3) ลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน (4) ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (5) ลดพุง ลดเสี่ยง ด้วยน้ำเต้าหู้สมุนไพรหาง่ายในท้องถิ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในการจัดกิจกรรมและบันทึกข้อมูลการออกกำลังกายทำให้กลุ่มวัยรุ่นมีความสนใจการออกกำลังกายมากยิ่งขึ้น

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ โดยอาศัยการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ อันจะนำไปสู่การก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน และการมีมนุษยสัมพันธ์กับผู้อื่นด้วย
อย่างไรก็ตามปัจจุบันจากการสำรวจเรื่องความต้องการในการออกกำลังกายหลังของนิสิตและบุคลากรในมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ ไม่ให้ความสำคัญของการออกกำลังกาย เนื่องจากขาดแรงกระตุ้นและแรงจูงใจ ยังไม่ตระหนักถึงประโยชน์และความสำคัญ ในการออกกำลังกาย ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ ภาวะน้ำหนักเกิน งบค่ารักษาพยาบาล ตลอดทั้งสภาพร่างกายและจิตใจขาดการพัฒนาการและการเจริญเติบโตที่เหมาะสมกับวัยได้ ซึ่งปัญหาดังกล่าว มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว ได้พยายามเสริมสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเดิมให้เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อทั้งภายในสถาบันและชุมชนใกล้เคียง เมื่อนิสิตและบุคลากรในมหาวิทยาลัยมีสุขภาพดี และจากการเริ่มต้นโครงการเพื่อสุขภาพแบบครบวงจร ตั้งแต่การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีสุขภาพกาย ใจและการบริโภคอาหารที่ดียังได้มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายให้นิสิตและอาจารย์ในคณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของปีที่แล้ว มีผู้ที่สนใจที่มากกว่าแค่เพียงนิสิตและอาจารย์ของคณะฯนี้เท่านั้นโครงการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพจึงวางแผนที่จะขยายผู้เข้าร่วมโครงการให้เกิดขึ้นทั้งวิทยาเขตและวางแผนที่จะขยายแผนต่อไปนอกมหาวิทยาลัยในอนาคตด้วย


จากผลสำเร็จของการดำเนินการโครงการส่งเสริมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในปีที่ผ่านมาผู้รับผิดชอบโครงการฯ จึงมองเห็นประโยชน์ของโครงการที่จะช่วยให้สังคมของมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วมีสุขภาพทีดี จึงจะขยายผลจากในคณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นทั้งวิทยาเขต และเนื่องจากที่ตั้งของมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว ได้เอื้อต่อการให้นิสิตและบุคลากรมีสุขภาพกายและใจที่ดีอยู่แล้ว แต่อย่างไรก็ตาม ความหลากหลายของทางเลือกวิธีการออกกำลังกายที่ตรงกับความสนใจและทักษะตนเองและความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการในทางปฏิบัติยังมีจำกัดจึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้นิสิตและบุคลากรยังไม่ได้รับการเสริมสร้างสุขภาพตนเองให้มีความสมบูรณ์แข็งแรง อย่างแท้จริง
การมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่หลากหลายตรงกับความสนใจและทักษะตนเอง และการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการออกกำลังกายของสถาบันและการบริโภคอาหาร จึงเป็นสิ่งกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้นิสิตและบุคลากรให้ความสนใจดูแลรักษาและปรับปรุงสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอได้ เพราะเป็นกระบวนการที่เอื้ออำนวยให้นิสิตและบุคลากร สามารถเพิ่มศักยภาพในการควบคุมและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง สามารถเข้าถึงสิ่งที่ต้องการได้ รวมถึงสามารถปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมหรือสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพ จึงไม่เป็นเพียงความรับผิดชอบของสถาบันเท่านั้น แต่ยังมุ่งไปที่รูปแบบการดำเนินชีวิตของนิสิตและบุคคลกรที่ต้องส่งผลดีต่อสุขภาพและนำไปสู่การมีสุขภาวะในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกวิธีการออกกำลังกายที่ตรงกับความสนใจและทักษะตนเอง
  4. เพื่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
  5. ่เพื่อการปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร
  6. เพื่อการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
  7. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักการรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจความต้องการในการออกกำลังกายและการเลือกประเภทกออกกำลังกายตามความสนใจ
  2. การปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร
  3. ลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน
  4. ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
  5. ลดพุง ลดเสี่ยง ด้วยน้ำเต้าหู้สมุนไพรหาง่ายในท้องถิ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี) 250
วัยทำงาน 50
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจความต้องการในการออกกำลังกายและการเลือกประเภทกออกกำลังกายตามความสนใจ

วันที่ 31 สิงหาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจความต้องการในการออกกำลังกายและการเลือกประเภทกออกกำลังกายตามความสนใจ แบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ 90 คน

 

90 0

2. ลดพุง ลดเสี่ยง ด้วยน้ำเต้าหู้สมุนไพรหาง่ายในท้องถิ่น

วันที่ 2 กันยายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมลดพุง ลดเสี่ยง ด้วยน้ำเต้าหู้สมุนไพรหาง่ายในท้องถิ่น เป็นกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวทางกายด้วยตารางเก้าช่องประยุกต์ โดยการจัดให้มีการเต้นตารางเก้าช่องประยุกต์ ช่วงเวลา ๑๖:๔๕ - ๑๗:๓๐ น. เพื่อให้นิสิต บุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วและผู้สนใจออกกำลังกายต่อเนื่อง ๓ วันต่อสัปดาห์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ หรือวันหยุดตามปฏิทินมหาวิทยาลัย ในช่วงเวลาการจัดกิจกรรม วันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ - วันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนโดยเฉลี่ย ๖๐ คนต่อวัน ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการบริโภคน้าเต้าหู้หรือน้ำสมุนไพรที่เป็นประโยชน์ต่อร่างการ เช่น น้ำฝาง น้ำอัญชัน ตลอดกิจกรรม

 

60 0

3. ลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน

วันที่ 3 กันยายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน เป็นกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวทางกายด้วยผู้นำการออกกำลังกาย โดยการจัดให้มีการเต้นแอโรบิค ช่วงเวลา ๑๖:๐๐ - ๑๖:๔๕ น. เพื่อให้นิสิต บุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วและผู้สนใจออกกำลังกายเต้นแอโรบิคต่อเนื่อง ๓-๔ วันต่อสัปดาห์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ หรือวันหยุดตามปฏิทินมหาวิทยาลัย (๑) ช่วงเวลาการจัดกิจกรรม วันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ - วันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (๒) ช่วงเวลาการปิดกิจกรรม วันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔:๐๐ น. - มอบรางวัลเพื่อการยกย่อง: เสื้อสำหรับผู้มีสุขภาพดี จำนวน ๒๐ รางวัล
๑๔:๑๕ น. เสร็จสิ้นกิจกรรมลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผู้เข้าร่วมโครงการเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

 

60 0

4. การปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร

วันที่ 3 ตุลาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายและโภชนาการโดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลวัฒนานคร ต.วัฒนานคร อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว มาให้ความรู้กับนิสิต บุคลากรของมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วและผู้สนใจ โดยแบ่งกิจกรรมเป็น ๒ ครั้ง คือ   ๑. การปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร ช่วงเริ่มโครงการ ในวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมีกำหนดการดังนี้ ๑๓:๐๐ น. รับลงทะเบียน ๑๓:๑๕ น. บรรยายให้ความรู้เรื่อง “การดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายและโภชนาการที่ถูกต้อง”
๑๔.๑๕ น. สร้างความเข้าใจด้านการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหารด้วยกิจกรรม Kahoot ๑๔:๓๐ น. เสร็จสิ้นกิจกรรม ครั้งที่ ๑
๒. การปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร ช่วงปิดโครงการ ในวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมีกำหนดการดังนี้ ๑๓:๐๐ น. รับลงทะเบียน ๑๓.๑๕ น. สร้างความเข้าใจด้านการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหารด้วยกิจกรรม Kahoot ๑๓:๓๐ น. บรรยายให้ความรู้เรื่อง “จิตวิทยาการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกายและใจสำหรับวัยรุ่น” โดย ดร. อาพรรณชนิต ศิริแพทย์ วิทยากรพิเศษจาก สสส. - คณบดีมอบของที่ระลึกแก่วิทยากรพิเศษ ดร. อาพรรณชนิต ศิริแพทย์
๑๔:๐๐ น. เสร็จสิ้นกิจกรรม ครั้งที่ ๒

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวข้องกับกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายก่อนออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร ๒. ผลการตอบความรู้ความเข้าใจผลดีและผลเสียของกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างถูกวิธีและผิดวิธี ผ่านกิจกรรม Kahoot มีคะแนนความถูกต้องมากกว่าร้อยละ ๘๐

 

200 0

5. ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 3 ตุลาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งที่เป็นนิสิต บุคลากรของมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว และผู้สนใจ โดยกิจกรรมแบ่งเป็น ๒ ครั้ง ดังนี้ ๑. กิจกรรมการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ช่วงเริ่มกิจกรรมในวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔:๓๐ น. รับลงทะเบียน ๑๔:๔๕ น. ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนเข้าร่วมโครงการ - สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ : ฐานวัดสัดส่วนของร่างกาย - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน : ฐานทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย - สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : ฐานทดสอบความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ - สาขาวิชาการบริหารทั่วไป : ฐานทดสอบความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ : ฐานบันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูลของ สสส.
๑๕:๓๐ น. รับประทานอาหารว่าง/น้ำดื่ม ๑๕:๔๕ น. ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนเข้าร่วมโครงการ (ต่อ) ๑๗.๐๐ น. เสร็จสิ้นกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ ๑

๒. กิจกรรมการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ช่วงเริ่มกิจกรรมในวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔:๑๕ น. รับประทานอาหารว่าง/น้ำดื่ม ๑๔:๓๐ น. ทดสอบสมรรถภาพทางกายหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน ๕ ฐาน - สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ : ฐานวัดสัดส่วนของร่างกาย - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน : ฐานทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย - สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : ฐานทดสอบความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ - สาขาวิชาการบริหารทั่วไป : ฐานทดสอบความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางธุรกิจ : ฐานบันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูลของ สสส.
๑๗:๐๐ น. เสร็จสิ้นกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ ๒

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. มีผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่า ๒๐๐ คน ๒. ผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายดีขึ้นร้อยละ ๑๐

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการนี้มีตัวชี้วัดทั้งหมด 7 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) (2) น้ำหนักกายของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่วัดก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ และการเปรียบเทียบความแตกต่างของสมรรถภาพทางกายระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ (3) แบบประเมินความพึงพอใจ (4) การตอบคำถามเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร และค่า% ของ Protein, BMI, Body fat, Muscle, Water และ Bone Mass (5) มีทัศนคติในเชิงบวกมากกว่าร้อยละ 70 จากการตอบแบบสอบถาม (6) ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายดีขึ้นร้อยละ 50 และ (7) รับอาหารเสริมเป็นน้ำเต้าหู้หลังการออกกำลังกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อนและหลังสิ้นสุดโครงการ จากผลการดำเนินงาน พบว่า มีผลการดำเนินงานบรรลุทุกตัวชี้วัด คิดเป็น 100% ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า ผลการดำเนินงานของกิจกรรมทั้งหมด 5 กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
80.00 70.00 70.00

กิจกรรมทางกาย เต้นแอโรบิค
การดำเนินงาน : หลังเลิกเรียน จัดกิจกรรมโดยผู้นำเต้น และให้ผู้ร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : น้ำหนักกายของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่วัดก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ และการเปรียบเทียบความแตกต่างของสมรรถภาพทางกายระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ
30.00 20.00 20.00

น้ำหนักกายของผู้เข้าร่วมโครงการที่วัดก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ โดยเฉลี่ยลดลง

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกวิธีการออกกำลังกายที่ตรงกับความสนใจและทักษะตนเอง
ตัวชี้วัด : แบบประเมินความพึงพอใจ
80.00 70.00 70.00

ทุกวันหลังเลิกเรียน ให้นิสิตลงชื่อยืมอุปกรณ์ที่สนใจ และจากการสรุปผลจากแบบประเมินความพึงพอใจ พบว่า นิสิตมีความพึงพอใจต่อการมีโอกาสได้เลือกวิธีการออกกำลังกายในระดับดี

4 เพื่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : การตอบคำถามเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร และค่า% ของ Protein, BMI, Body fat, Muscle, Water และ Bone Mass
80.00 70.00 70.00

ตอบคำถามของกิจกรรมให้ความรู้ด้านการออกกำลังกายและโภชนาการ ผ่านโปรแกรม Kahoot

5 ่เพื่อการปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : มีทัศนคติในเชิงบวกมากกว่าร้อยละ 70 จากการตอบแบบสอบถาม
80.00 60.00 60.00

จากผลการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่านิสิต มีทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังการ

6 เพื่อการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ตัวชี้วัด : ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายดีขึ้นร้อยละ 50
80.00 70.00 70.00

ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลัง เข้าร่วมโครงการมีความแต่กต่าง คือนิสิตมีความแข็งแรงยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อมากขึ้น

7 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักการรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : รับอาหารเสริมเป็นน้ำเต้าหู้หลังการออกกำลังกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อนและหลังสิ้นสุดโครงการ
50.00 40.00 40.00

อาหารเสริมเป็นน้ำเต้าหู้หลังการออกกำลังกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อนและหลังสิ้นสุดโครงการ สามารถเสริมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมยิ่งขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) 250 250
วัยทำงาน 50 50
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกวิธีการออกกำลังกายที่ตรงกับความสนใจและทักษะตนเอง (4) เพื่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม (5) ่เพื่อการปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร (6) เพื่อการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (7) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักการรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจความต้องการในการเลือประเภทกออกกำลังกายตามความสนใจ (2) การปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร (3) ลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน (4) ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (5) ลดพุง ลดเสี่ยง ด้วยน้ำเต้าหู้สมุนไพรหาง่ายในท้องถิ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในการจัดกิจกรรมและบันทึกข้อมูลการออกกำลังกายทำให้กลุ่มวัยรุ่นมีความสนใจการออกกำลังกายมากยิ่งขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2)

รหัสโครงการ 61-ตอ.01 รหัสสัญญา ุ61-ตอ.01 ระยะเวลาโครงการ 30 สิงหาคม 2019 - 16 ธันวาคม 2019

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลุ่มผู้นำเต้นแอโรบิค

มีผู้นำเต้นแอโรบิค

การส่งเสริมและพัฒนาผู้นำเต้นแอโรบิคที่มีความเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ การดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย

การบรรยายให้ความรู้ของวิทยากร/ป้ายประชาสัมพันธ์การให้ความรู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ประมาณ 3 วันต่อสัปดาห์

การเข้าร่วมกิจกรรม/การออกกำลังกายตามความสนใจ

รณรงค์ให้นิสิตออกกำลังกาย มีการจัดการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ส่งเสริมการบริโภคน้ำเต้าหู้หรือน้ำสมุนไพรที่เป็นประโยชน์ต่อร่างการ เช่น น้ำฝาง น้ำอัญชัน

ป้ายประชาสัมพันธ์/ใบเซ็นชื่อผู้รับนำสมุนไพร

ขอความร่วมมือในการจัดกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ให้มีการบริการน้ำสมุนไพร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน และโรงพยาบาลวัฒนานคร อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว

เอกสารการให้ความอนุเคราะห์

การจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2) จังหวัด สระแก้ว

รหัสโครงการ 61-ตอ.01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาจารย์ ดร. พัชรวดี พูลสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด