PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โครงการต่อยอดสุขภาพนิสิตและอาจารย์ในชุมชนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ด้วยนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย (ครั้งที่ 2)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการนี้มีตัวชี้วัดทั้งหมด 7 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) (2) น้ำหนักกายของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่วัดก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ และการเปรียบเทียบความแตกต่างของสมรรถภาพทางกายระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ (3) แบบประเมินความพึงพอใจ (4) การตอบคำถามเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร และค่า% ของ Protein, BMI, Body fat, Muscle, Water และ Bone Mass (5) มีทัศนคติในเชิงบวกมากกว่าร้อยละ 70 จากการตอบแบบสอบถาม (6) ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายดีขึ้นร้อยละ 50 และ (7) รับอาหารเสริมเป็นน้ำเต้าหู้หลังการออกกำลังกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อนและหลังสิ้นสุดโครงการ จากผลการดำเนินงาน พบว่า มีผลการดำเนินงานบรรลุทุกตัวชี้วัด คิดเป็น 100% ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า ผลการดำเนินงานของกิจกรรมทั้งหมด 5 กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
80.00 70.00 70.00

กิจกรรมทางกาย เต้นแอโรบิค
การดำเนินงาน : หลังเลิกเรียน จัดกิจกรรมโดยผู้นำเต้น และให้ผู้ร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : น้ำหนักกายของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่วัดก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ และการเปรียบเทียบความแตกต่างของสมรรถภาพทางกายระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ
30.00 20.00 20.00

น้ำหนักกายของผู้เข้าร่วมโครงการที่วัดก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ โดยเฉลี่ยลดลง

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกวิธีการออกกำลังกายที่ตรงกับความสนใจและทักษะตนเอง
ตัวชี้วัด : แบบประเมินความพึงพอใจ
80.00 70.00 70.00

ทุกวันหลังเลิกเรียน ให้นิสิตลงชื่อยืมอุปกรณ์ที่สนใจ และจากการสรุปผลจากแบบประเมินความพึงพอใจ พบว่า นิสิตมีความพึงพอใจต่อการมีโอกาสได้เลือกวิธีการออกกำลังกายในระดับดี

4 เพื่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : การตอบคำถามเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร และค่า% ของ Protein, BMI, Body fat, Muscle, Water และ Bone Mass
80.00 70.00 70.00

ตอบคำถามของกิจกรรมให้ความรู้ด้านการออกกำลังกายและโภชนาการ ผ่านโปรแกรม Kahoot

5 ่เพื่อการปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : มีทัศนคติในเชิงบวกมากกว่าร้อยละ 70 จากการตอบแบบสอบถาม
80.00 60.00 60.00

จากผลการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่านิสิต มีทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังการ

6 เพื่อการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ตัวชี้วัด : ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายดีขึ้นร้อยละ 50
80.00 70.00 70.00

ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลัง เข้าร่วมโครงการมีความแต่กต่าง คือนิสิตมีความแข็งแรงยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อมากขึ้น

7 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักการรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : รับอาหารเสริมเป็นน้ำเต้าหู้หลังการออกกำลังกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อนและหลังสิ้นสุดโครงการ
50.00 40.00 40.00

อาหารเสริมเป็นน้ำเต้าหู้หลังการออกกำลังกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อนและหลังสิ้นสุดโครงการ สามารถเสริมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมยิ่งขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) 250 250
วัยทำงาน 50 50
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกวิธีการออกกำลังกายที่ตรงกับความสนใจและทักษะตนเอง (4) เพื่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม (5) ่เพื่อการปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร (6) เพื่อการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (7) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักการรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจความต้องการในการเลือประเภทกออกกำลังกายตามความสนใจ (2) การปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการบริโภคอาหาร (3) ลดความเสี่ยงจากปัญหาโรคอ้วน (4) ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (5) ลดพุง ลดเสี่ยง ด้วยน้ำเต้าหู้สมุนไพรหาง่ายในท้องถิ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในการจัดกิจกรรมและบันทึกข้อมูลการออกกำลังกายทำให้กลุ่มวัยรุ่นมีความสนใจการออกกำลังกายมากยิ่งขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh