PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่โดยใช้ท่ารำตบมะผาบและท่ารำฟ้อนดาบ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่โดยใช้ท่ารำตบมะผาบและท่ารำฟ้อนดาบ ”

โรงเรียนบ้านใหม่ ม.7 ตำบลวังชิ้น อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ
นาย พยุงศักดิ์ พรรณา

ชื่อโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่โดยใช้ท่ารำตบมะผาบและท่ารำฟ้อนดาบ

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านใหม่ ม.7 ตำบลวังชิ้น อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ 61-น.01 เลขที่ข้อตกลง สสส.นวก.14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2019 ถึง 16 ธันวาคม 2019


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่โดยใช้ท่ารำตบมะผาบและท่ารำฟ้อนดาบ จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านใหม่ ม.7 ตำบลวังชิ้น อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่โดยใช้ท่ารำตบมะผาบและท่ารำฟ้อนดาบ



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่โดยใช้ท่ารำตบมะผาบและท่ารำฟ้อนดาบ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านใหม่ ม.7 ตำบลวังชิ้น อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ รหัสโครงการ 61-น.01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2019 - 16 ธันวาคม 2019 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,300.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเด็กโรงเรียนบ้านใหม่มีการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น การเล่นเกม การใช้โทรศัพท์มือถือ และการใช้โชเชียลต่าง ๆ เป็นต้น โดยเฉลี่ยประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง ต่อ 1 วัน ทำให้เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมส่วนอื่น ๆ ลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น กิจกรรมภายในครอบครัว และกิจกรรมทางกาย เป็นต้น โดยเฉพาะกิจกรรมทางกายที่ในแต่ละวันเด็กมีการปฏิบัติกิจกรรมในระดับน้อย ส่งผลให้เด็กเกิดปัญหาทางภาวะโภชนาการ และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะโรคในกลุ่มไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs เช่น โรคอ้วนลงพุง โรคสมองเสื่อม โรคเบาหวาน เป็นต้น โรงเรียนตระหนักถึงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจึงส่งเสริมให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นต่าง ๆ เช่น วิ่งไล่จับ กระโดดหนังยาง เล่นลูกแก้ว สนามเด็กเล่น การออกกำลังกายและเล่นกีฬาตามความชอบของนักเรียนในช่วงเวลเช้า พักเที่ยง และก่อนเลิกเรียนในครั้งนี้โรงเรียนมีแนวคิดที่จะนำศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นล้านนามาประยุกต์ในการเคลื่อนไหวทางกายในตอนเช้าก่อนเข้าเรียน ได้แก่ ท่ารำตบมะผาบ และท่ารำฟ้อนดาบ ซึ่งจะทำให้เด็กมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ มีพัฒนาการที่เหมาะสมกับวัย และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในกลุ่มไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ขยับเคลื่อนไหวร่างกายที่เพียงพอ เสริมสร้างนิสัย ทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติกิจกรรมทางกายเพียงพอ และร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นล้านนา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ
  2. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะกิจกรรมทางกาย
  4. ดำเนินกิจกรรมทางกาย
  5. วัดสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1
  6. สรุปผลการดำเนินงาน
  7. ทดสอบสมรรถภาพครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 300
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. วัดสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1

วันที่ 12 สิงหาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม 2.ทำการทดสอบสมรรถภาพตามขั้นตอน 3.สรุปผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้ทราบผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของแต่ละคน

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ส่งเสริมให้นักเรียนได้ขยับเคลื่อนไหวร่างกายที่เพียงพอ เสริมสร้างนิสัย ทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติกิจกรรมทางกายเพียงพอ และร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นล้านนา
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ได้ขยับเคลื่อนไหวร่างกายในระดับปานกลางถึงมากทุกวันใน 1 สัปดาห์ 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีการปฏิบัติกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง และมีความสนุกสานจากการปฏิบัติกิจกรรม 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีทักษะในการรำตบมะผาบ และการรำฟ้อนดาบ 4. โรงเรียนไม่มีเด็กที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs 5. จำนวนเด็กที่มีปัญหาทางด้านภาวะโภชนาการลดลง
50.00 75.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) 300
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ส่งเสริมให้นักเรียนได้ขยับเคลื่อนไหวร่างกายที่เพียงพอ เสริมสร้างนิสัย ทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติกิจกรรมทางกายเพียงพอ และร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นล้านนา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ (2) สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs (3) อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะกิจกรรมทางกาย (4) ดำเนินกิจกรรมทางกาย (5) วัดสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1 (6) สรุปผลการดำเนินงาน (7) ทดสอบสมรรถภาพครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่โดยใช้ท่ารำตบมะผาบและท่ารำฟ้อนดาบ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ 61-น.01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย พยุงศักดิ์ พรรณา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด