PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

ส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ ส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร ”

โรงเรียนบ้านสุขสำราญ ตำบลหนองโสน อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นาย ธรรมเนียม เพ็ชรพงษ์

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านสุขสำราญ ตำบลหนองโสน อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ 61-น.06 เลขที่ข้อตกลง 61-น.06

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านสุขสำราญ ตำบลหนองโสน อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย (3) เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เคลื่อนไหวยามเช้า-เย็น (2) ลีลาลีลาส (3) ลีลาบาสโลบ (4) แอโรบิกแดนซ์ (5) ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1 (6) ท่าสวย สุขภาพดี มีรางวัล (7) ทดสอบสมรรถภาพ ครั้งที่ 2 โดยมีผลจากการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น ร้อยละ 83 ของเด็กและวัยรุ่นอายุ 7-15 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) 2. เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย ร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย 3. เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน ร้อยละ 85 เด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่ดีสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดกับกิจกรรมอื่นได้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้นทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปมีการออกกำลังกายน้อยลงทำให้ร่างกายอ่อนแอและมีรูปร่าง สัดส่วนเกิน ไม่เหมาะสมตามวัย อาจเกิดโรคต่าง ๆ ตามมา โรงเรียนบ้านสุขสำราญจึงร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร ขึ้นมาโดยเห็นว่าการเต้นเป็นวิธีการออกกำลังกายวิธีหนึ่ง เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียน (อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วน เหมาะสมตามวัย และเพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียน (อายุ 7-15 ปี) ที่ออกกำลังกายในชุมชนให้เพิ่มมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย
  3. เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เคลื่อนไหวยามเช้า-เย็น
  2. ลีลาลีลาส
  3. ลีลาบาสโลบ
  4. แอโรบิกแดนซ์
  5. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1
  6. ท่าสวย สุขภาพดี มีรางวัล
  7. ทดสอบสมรรถภาพ ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 79
วัยรุ่น (13-15 ปี) 32
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย
  3. เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1

วันที่ 16 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1 1. ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง 2. นั่งงอตัว 3. ดันพื้น 4. ลุก-นั่ง 5. วิ่งระยะไกล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลจากการทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1 นักเรียนได้แรงบันดาลใจที่จะออกกำลังกายและร่วมกิจกรรมในโครงการเป็นอย่างมาก

 

111 0

2. เคลื่อนไหวยามเช้า-เย็น

วันที่ 19 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. warm up อบอุ่นร่างกายก่อนเต้น
  2. เต้นบาสโลบ / แอโรบิก / ลีลาศ 3.  cool down หลังการเต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีกิจกรรมในการออกกำลังกายที่หลากหลาย มีรูปร่างสัดส่วน เหมาะสมตามวัย

 

111 0

3. ลีลาลีลาศ

วันที่ 24 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้พื้นฐานการเต้นลีลาศ
  2. นักเรียนฝึกปฏิบัติเต้นลีลาศ
  3. ทดสอบเต้นลีลาศ
  4. เต้นลีลาศในกิจกรรมยามเช้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ มีรูปร่างสัดส่วนเหมาะสมตามวัย

 

111 0

4. ลีลาบาสโลบ

วันที่ 28 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้การเต้นบาสโลบ
  2. ฝึกปฏิบัติการเต้นบาสโลบ
  3. ทดสอบเต้นบาสโลบ
  4. เต้นบาสโลบกิจกรรมยามเช้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นัดเรียนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสม

 

111 0

5. แอโรบิกแดนซ์

วันที่ 2 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้การเต้นแอโรบิก
  2. ฝึกปฏิบัติเต้นแอโรบิก
  3. ทดสอบการเต้นแอโรบิก
  4. เต้นแอโรบิกกิจกรรมยามเช่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ มีรูปร่างสัดส่วนเหมาะสมตามวัย

 

111 0

6. ท่าสวย สุขภาพดี มีรางวัล

วันที่ 3 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะครูแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม
  2. จัดสรรรางวัลการจัดกิจกรรม
  3. จัดกิจกรรม ท่าสวย สุขภาพดี มีรางวัล
  4. สรุปกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนสามารถคิดท่าการเต้นเองได้ มีสุขภาพที่ดีทั้งกายและใจ สนุกสนานกับกิจกรรม

 

111 0

7. ทดสอบสมรรถภาพ ครั้งที่ 2

วันที่ 6 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชั่งนำ้หนัก วัดส่วนสูง
  2. นั่งงอตัว
  3. ดันพื้น 30 วินาที
  4. ลุก-นั่ง
  5. วิ่งระยะไกล
  6. คิดค่า BMI

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงมากขึ้น

 

111 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น ร้อยละ 83 ของเด็กและวัยรุ่นอายุ 7-15 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
  2. เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย ร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย
  3. เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน ร้อยละ 85 เด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 7-15 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
60.00 80.00 83.00

นอกจากกิจกรรมที่ระบุไว้ตามโครงการแล้วนักเรียนยังมีกิจกรรมทางกายอื่นๆด้วยเช่น เวรประจำวัน เวรทำความสะอาดห้องเรียน การทำกิจกรรมระหว่างเรียนและเล่นกีฬาประเภทต่างๆในเวลาว่าง

2 เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย
60.00 70.00 70.00

นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์มันเกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่นขนม

3 เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน
60.00 80.00 85.00

ในเวลาเย็นและวันหยุดมีนักเรียนและวัยรุ่นในชุมชนหันมาใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการมาเต้นเพื่่อออกกำลังกายและเล่นกีฬาร่วมกันเป็นประจำ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 111
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) 79
วัยรุ่น (13-15 ปี) 32
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย (3) เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เคลื่อนไหวยามเช้า-เย็น (2) ลีลาลีลาส (3) ลีลาบาสโลบ (4) แอโรบิกแดนซ์ (5) ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1 (6) ท่าสวย สุขภาพดี มีรางวัล (7) ทดสอบสมรรถภาพ ครั้งที่ 2 โดยมีผลจากการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น ร้อยละ 83 ของเด็กและวัยรุ่นอายุ 7-15 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) 2. เพิ่มจำนวนเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย ร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียน(อายุ 7-15 ปี) มีรูปร่าง สัดส่วนเหมาะสมตามวัย 3. เพิ่มจำนวนเด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน ร้อยละ 85 เด็กและวัยรุ่น (อายุ 7-15 ปี)ที่ออกกำลังกายในชุมชน ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่ดีสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดกับกิจกรรมอื่นได้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

รหัสโครงการ 61-น.06 รหัสสัญญา 61-น.06 ระยะเวลาโครงการ 2 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย

ใบความรู้ ภาพถ่าย

ศึกษาการออกกำลังกายแนวใหม่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

นักเรียนมีการคิดค้นท่าทางการออกกำลังกายใหม่ๆ

ภาพถ่ายและผลการประกวด

ออกไปหาประสบกาณ์จากหน่วยงานภายนอก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแล้วจึงนำมาปฎิบัติ

เอกสารที่เกี่ยวข้องและภาพถ่ายกิจกรรม

หาความรู้เพิ่มเติมจากหน่วยอื่นเพื่อนำมาพัฒนาวิธีการทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด

ภาพถ่าย

ศึกษาดูงานจากหน่วยงานอื่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

นักเรียนดูแลสุขภาพตนเองโดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรักษาความสะอาดของร่างกาย

แบบสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

นักเรียนรู้จักการรับประทานอาหารครบ 5 หมู่

แบบสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

นักเรียนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

แบบสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

นักเรียนใช้เวลาว่างในการออกกำลังกาย

แบบรายงานการตรวจสารเสพติด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

นักเรียนใช้เวลาว่างในการออกกำลังกาย จึงทำให้ลดพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศลงได้

ภาพถ่ายการทำกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

นักเรียนมีความสุขกับการออกกำลังกาย สามารถลดความเครียดและจัดการอารมณืของตัวเองได้

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ได้รับความร่วมมือจากชุมชน เครือข่ายโรงเรียนมาให้ความรู้และช่วยดำเนินกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดการจัดการและการวางแผนในการดำเนินกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

นักเรียนมีความภาคภูมิใจในการทำกิจกรรมจนสำเร็จ

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

นักเรียนมีความสามัคคีกันในกลุ่ม

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนใส่ใจและให้ความช่วยเหลือกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

นักเรียนมีการวางแผนในการจัดกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมทางกาย ห่างไกลโรคภัยด้วยลีลาบาสโลบิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสุขสำราญ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ 61-น.06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย ธรรมเนียม เพ็ชรพงษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด