ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางกายสำหรับเด็กประถมศึกษาโรงเรียนบ้านวังม่วง |
ภายใต้โครงการ | โครงการเพื่อส่งเสริมนวัตกรรมกิจกรรมทางกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ (ประเภทเปิดรับทั่วไป) |
ภายใต้องค์กร | สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ |
เลขที่ข้อตกลง | 61-น.12 |
รหัสโครงการ | 61-น.12 |
วันที่อนุมัติ | 3 มิถุนายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 |
งบประมาณ | 34,850.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านวังม่วง |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นาง จุรีลักษณ์ สุวรรณวงษ์ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | 0894336566 |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลไม้งาม อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก |
ละติจูด-ลองจิจูด | 16.94961011123,99.101861715317place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ส.ค. 2562 | 29 พ.ย. 2562 | 0.00 | |||
2 | 2 ธ.ค. 2562 | 16 ธ.ค. 2562 | 0.00 | |||
รวมงบประมาณ | 0.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (34,850.00 บาท)
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาของการจัดการศึกษาของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียน จะเห็นได้ว่าประเทศเทศไทยจัดอยู่ในอันดับรั้งท้าย นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการมีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์สำหรับนักเรียนที่เรียนในเขตเมือง และน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์สำหรับ นักเรียนที่เรียนในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งปัญหาดังกล่าวกำลังเป็นภัยคุกคามที่จะส่งผลต่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกายส่วนรวม อีกทั้งจะเป็นปัญหาที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งโดยธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา มีความต้องการที่จะเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่างๆ อย่างน้อยเฉลี่ยวันละ 3-4 ชั่วโมง จึงทำให้เกิดการใช้พลังงานไม่สมดุลกับการรับประทาน อาหารในแต่ละวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหาร จานด่วนทั้งหลาย และปัญหาการขาดแคลนด้านทุพโภชนาการ กล่าวคือน้ำหนักตัวที่ต่ำกว่า หรือเกินเกณฑ์มาตรฐาน ส่งผลให้การเรียนการสอนทำได้ไม่เต็มที่ และขาดหลักโภชนาการขาดความสนใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์และเครื่องเล่น ต่าง ๆ รวมทั้งสถานที่ที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างอิสระ
ปัญหาการขาดการออกกำลังกาย นักเรียนจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน การนั่งดูโทรทัศน์ตลอดเวลา ทำให้ร่างกายไม่มีการเคลื่อนไหวออกกำลังกาย ซึ่งมีผลเสียต่อสุขภาพ ในระยะแรกอาจทำให้เป็นโรคอ้วน ขาดความคล่องตัว เซื่องซึม ขาดความกระตือรือร้น ไม่แจ่มใส ในระยะยาว การไม่ออกกำลังกาย ร่วมกับการบริโภคที่ไม่ดีจะทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพโดยใช้กิจกรรมทางกาย รวมไปถึงใช้สนามเด็กเล่นตามแนวคิดฐานปัญญา Brain Base Learning (BBL) จึงเห็นสมควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้นำกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) มาพัฒนาเป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน รวมทั้งการส่งเสริมโดยการจัดพื้นที่และอุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ โดยดำเนินการสร้างความเป็นต้นแบบด้านการใช้กิจกรรมทางกายออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน สร้างรูปแบบสนามเด็กเล่นตามแนวคิดฐานปัญญา เพื่อเป็นแนวทางที่นำไปสู่การพัฒนาการกำหนดนโยบาย รวมทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงาน ต่าง ๆ ให้มีระบบกลไกในการดำเนินงานการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมการออกกำลังกาย และกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียนทุกเพศ ทุกวัย อีกทั้งระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อ สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียน รวมถึงพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในพื้นที่เป้าหมายต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ส่งเสริมให้นักเรียนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ/สุขภาพดี ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5 - 17 ปี ในโรงเรียนมีการออกกำลังกาย |
0.00 | 100.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 23 | 30 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 5 | - | |
วัยเรียน (6-12 ปี) | 18 | 25 | |
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 187 | 40,000.00 | 5 | 40,000.00 | |
3 มิ.ย. 62 | ประชุมชี้แจงคณะทำงาน | 10 | 900.00 | ✔ | 900.00 | |
1 ก.ค. 62 - 28 ก.พ. 63 | สนามเด็กเล่นโดยใช้แนวคิดฐานปัญญา Brain Base Learning (BBL) | 30 | 21,950.00 | ✔ | 21,950.00 | |
1 ก.ค. 62 - 28 ก.พ. 63 | โชป้าชายด์ป้า | 60 | 9,000.00 | ✔ | 9,000.00 | |
5 ส.ค. 62 | ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 1 | 27 | 0.00 | - | ||
21 พ.ย. 62 | กระโดดเชือก ลดอ้วน | 30 | 3,000.00 | ✔ | 3,000.00 | |
29 พ.ย. 62 | ทดสอบสมรถภาพทางกายครั้งที่ 2 | 0 | 0.00 | - | ||
7 ธ.ค. 62 | ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอล | 30 | 5,150.00 | ✔ | 5,150.00 |
1.จัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครูเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 2.ดำเนินกิจกรรมตามแผนงานที่ตั่งไว้ 3.ตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงาน 4.สรุปผลการดำเนินงาน
เด็กและวัยรุ่นอายุ 5 - 17 ปี ในโรงเรียนมีการออกกำลังกายทุกคน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ค. 2562 15:10 น.