PA Thailand (Physical Activity Thailand)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (วันละอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ทุกวันใน 1 สัปดาห์)
50.00 60.00 55.00

นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สดใส ร่าเริง

 

นักเรียนมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมในช่วงวัยนี้จึงเป็นกิจกรรมที่ได้รับการออกแบบให้ส่งเสริมพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น กิจกรรมการเดิน การทรงตัว การวิ่ง กระโดด ปีนป่าย ฯลฯ

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
50.00 60.00 55.00

นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สดใส ร่าเริง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

นักเรียนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในแต่ละวันนักเรียนได้เล่นกีฬาเปตอง ฟุตบอล แบดมินตัน เครื่องออกกำลังกาย ในช่วงเวลากลางวัน หลังเลิกเรียน

3 เพิ่มเวลาการเรียนรู้แบบกระฉับกระเฉงในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาเรียนในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็กที่จัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
15.00 20.00 18.00

นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สดใส ร่าเริง มีความกระตือรือร้น มีสมาธิ ก่อนเข้าเรียน

 

นักเรียนมีความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง มีสมาธิ ก่อนเข้าเรียน