แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance ”
จังหวัดลพบุรี
หัวหน้าโครงการ
นาวสาว กรรณิการ์ แตงดี
ชื่อโครงการ ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance
ที่อยู่ จังหวัดลพบุรี จังหวัด ลพบุรี
รหัสโครงการ 61-ก.05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2562 ถึง 6 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance จังหวัดลพบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดลพบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance
บทคัดย่อ
โครงการ " ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดลพบุรี รหัสโครงการ 61-ก.05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2562 - 6 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,650.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเด็กทั่วโลกมีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนเพิ่มมากขึ้น โดยผู้ป่วยโรคอ้วนมีจำนวนเพิ่มขึ้น 2-3 เท่าตัวนับจากทศวรรษ 1980 ความอ้วนก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพตามมามากมาย ตั้งแต่ปัญหาสุขภาพกายไปจนถึงสุขภาพจิตที่ทำให้เด็กขาดความมั่นใจในตัวเองและกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้ พ่อแม่ควรใส่ใจดูแลอาหารการกินของเด็ก รวมถึงส่งเสริมให้เด็กใส่ใจสุขภาพและเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์เพื่อป้องกันไม่ให้มีน้ำหนักเกินจนเกิดปัญหาด้านสุขภาพได้
สาเหตุของโรคอ้วนในเด็กเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุหลักๆเกิดจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม คือการกินมากกว่าที่ใช้ไปและวิถีชีวิตแบบนั่งๆนอนๆ (Sedentary Lifestyle) ไม่ว่าเป็นการเล่นวิดีโอเกม ดูทีวี เล่นไอแพดเป็นเวลานานโดยขาดการออกกำลังกาย นอกจากนี้เด็กบางคนอาจมีปัญหาทางจิตใจ เช่น อาการซึมเศร้า ทำให้กินมากเกินไป ส่วนสาเหตุของโรคอ้วนอื่นๆพบได้น้อยมาก เช่น เกิดจากความผิดปกติทางฮอร์โมน เป็นโรคทางสมอง ทำให้กินไม่รู้จักอิ่ม หรือเกิดจากความบกพร่องทางพันธุกรรมบางอย่าง ยีนผิดปกติ เช่น Prader Willi syndrome หรือขาดยีนบางอย่าง
ดังนั้นเราควรจะดูแลเด็กเหล่านี้ได้ด้วยหลายวิธีไม่ว่าจะเป็น 1.ด้านโภชนาการ การควบคุมอาหาร เพื่อลดปริมาณพลังงานที่ร่างกายได้รับ แต่มีข้อควรระวังคือไม่ควรจำกัดอาหารและพลังงานมากเกินไป คือพลังงานที่ให้ควรอยู่ระหว่างวันละ 1,200-1,500 กิโลแคลอรี่ ในเด็กอายุ 6-12 ปี และมีหลักการทั่วไปดังนี้ กินผักและผลไม้ให้มากๆ อย่างน้อยวันละ 5 ส่วน เพราะผักและผลไม้ส่วนมากไม่มีไขมันหรือมีน้อย และให้พลังงานน้อยมาก เช่น แครอท เห็ด มะเขือเทศ ถั่วแขก บร็อคโคลี่ คะน้า ผักใบเขียวต่างๆ กินอาหารที่มีกากใยมาก เช่น ธัญพืช ถั่ว จะช่วยทำ ให้อิ่มเร็ว กินอาหารที่มีแคลเซียมให้เพียงพอ เป็นต้น 2. ด้านการออกกำลังกายและกิจกรรมต่างๆ ลดการดูโทรทัศน์ คือไม่ควรเกินวันละ 1-2 ชั่วโมง รวมทั้งลดการเล่นเกม และคอมพิวเตอร์ ออกกำลังกายหนักปานกลางอย่างน้อยวันละ 30-60 นาที อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์ โดยเริ่มจากน้อยๆ ก่อนในเด็กที่อ้วนมาก ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายของครอบครัว เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เด็ก และสร้างพฤติกรรมปลูกฝังให้เด็กรักการออกกำลังกายเป็นกิจวัตรประจำวัน
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอ่างทอง จึงจัดทำโครงการออกกำลังกาย “ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance” ประจำปีงบประมาณ2562 ขึ้นมาโดยเห็นว่าการ Sports Dance เป็นวิธีการออกกำลังกายวิธีหนึ่งที่มีรูปแบบการเต้นที่หลากหลายกันออกไป และเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจ การกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกาย แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนหันมาออกกำลังกายเพิ่มมากชึ้น
- ลดจำนวนอาการเจ็บป่วยของเด็กและเยาวชน
- สร้างเสริมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำการออกกำลังของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
- เพิ่มความรู้ให้กับเด็กและเยาวชนเข้าใจในเรื่อง 3อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ 3อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์
- 2.ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
- กิจกรรมการออกกำลัง sports dance
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
220
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
30
วัยทำงาน
30
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนหันมาออกกำลังกายเพิ่มมากชึ้น
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้เข้าร่วมการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
50.00
220.00
2
ลดจำนวนอาการเจ็บป่วยของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาการเจ็บป่วยของเด็กและเยาวชนลดน้อยลง
50.00
220.00
3
สร้างเสริมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำการออกกำลังของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
ตัวชี้วัด : นักศึกษามีพัฒนาการในเรื่องของการเป็นผู้นำการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
10.00
30.00
4
เพิ่มความรู้ให้กับเด็กและเยาวชนเข้าใจในเรื่อง 3อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง 3อ. เพิ่มมากขึ้น
50.00
220.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
280
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
220
วัยรุ่น (13-15 ปี)
-
เยาวชน (15-20 ปี)
30
วัยทำงาน
30
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance จังหวัด ลพบุรี
รหัสโครงการ 61-ก.05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นาวสาว กรรณิการ์ แตงดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance ”
จังหวัดลพบุรีหัวหน้าโครงการ
นาวสาว กรรณิการ์ แตงดี
ชื่อโครงการ ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance
ที่อยู่ จังหวัดลพบุรี จังหวัด ลพบุรี
รหัสโครงการ 61-ก.05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2562 ถึง 6 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance จังหวัดลพบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดลพบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance
บทคัดย่อ
โครงการ " ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดลพบุรี รหัสโครงการ 61-ก.05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2562 - 6 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,650.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเด็กทั่วโลกมีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนเพิ่มมากขึ้น โดยผู้ป่วยโรคอ้วนมีจำนวนเพิ่มขึ้น 2-3 เท่าตัวนับจากทศวรรษ 1980 ความอ้วนก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพตามมามากมาย ตั้งแต่ปัญหาสุขภาพกายไปจนถึงสุขภาพจิตที่ทำให้เด็กขาดความมั่นใจในตัวเองและกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้ พ่อแม่ควรใส่ใจดูแลอาหารการกินของเด็ก รวมถึงส่งเสริมให้เด็กใส่ใจสุขภาพและเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์เพื่อป้องกันไม่ให้มีน้ำหนักเกินจนเกิดปัญหาด้านสุขภาพได้
สาเหตุของโรคอ้วนในเด็กเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุหลักๆเกิดจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม คือการกินมากกว่าที่ใช้ไปและวิถีชีวิตแบบนั่งๆนอนๆ (Sedentary Lifestyle) ไม่ว่าเป็นการเล่นวิดีโอเกม ดูทีวี เล่นไอแพดเป็นเวลานานโดยขาดการออกกำลังกาย นอกจากนี้เด็กบางคนอาจมีปัญหาทางจิตใจ เช่น อาการซึมเศร้า ทำให้กินมากเกินไป ส่วนสาเหตุของโรคอ้วนอื่นๆพบได้น้อยมาก เช่น เกิดจากความผิดปกติทางฮอร์โมน เป็นโรคทางสมอง ทำให้กินไม่รู้จักอิ่ม หรือเกิดจากความบกพร่องทางพันธุกรรมบางอย่าง ยีนผิดปกติ เช่น Prader Willi syndrome หรือขาดยีนบางอย่าง
ดังนั้นเราควรจะดูแลเด็กเหล่านี้ได้ด้วยหลายวิธีไม่ว่าจะเป็น 1.ด้านโภชนาการ การควบคุมอาหาร เพื่อลดปริมาณพลังงานที่ร่างกายได้รับ แต่มีข้อควรระวังคือไม่ควรจำกัดอาหารและพลังงานมากเกินไป คือพลังงานที่ให้ควรอยู่ระหว่างวันละ 1,200-1,500 กิโลแคลอรี่ ในเด็กอายุ 6-12 ปี และมีหลักการทั่วไปดังนี้ กินผักและผลไม้ให้มากๆ อย่างน้อยวันละ 5 ส่วน เพราะผักและผลไม้ส่วนมากไม่มีไขมันหรือมีน้อย และให้พลังงานน้อยมาก เช่น แครอท เห็ด มะเขือเทศ ถั่วแขก บร็อคโคลี่ คะน้า ผักใบเขียวต่างๆ กินอาหารที่มีกากใยมาก เช่น ธัญพืช ถั่ว จะช่วยทำ ให้อิ่มเร็ว กินอาหารที่มีแคลเซียมให้เพียงพอ เป็นต้น 2. ด้านการออกกำลังกายและกิจกรรมต่างๆ ลดการดูโทรทัศน์ คือไม่ควรเกินวันละ 1-2 ชั่วโมง รวมทั้งลดการเล่นเกม และคอมพิวเตอร์ ออกกำลังกายหนักปานกลางอย่างน้อยวันละ 30-60 นาที อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์ โดยเริ่มจากน้อยๆ ก่อนในเด็กที่อ้วนมาก ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายของครอบครัว เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เด็ก และสร้างพฤติกรรมปลูกฝังให้เด็กรักการออกกำลังกายเป็นกิจวัตรประจำวัน
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอ่างทอง จึงจัดทำโครงการออกกำลังกาย “ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance” ประจำปีงบประมาณ2562 ขึ้นมาโดยเห็นว่าการ Sports Dance เป็นวิธีการออกกำลังกายวิธีหนึ่งที่มีรูปแบบการเต้นที่หลากหลายกันออกไป และเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจ การกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกาย แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนหันมาออกกำลังกายเพิ่มมากชึ้น
- ลดจำนวนอาการเจ็บป่วยของเด็กและเยาวชน
- สร้างเสริมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำการออกกำลังของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
- เพิ่มความรู้ให้กับเด็กและเยาวชนเข้าใจในเรื่อง 3อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ 3อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์
- 2.ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
- กิจกรรมการออกกำลัง sports dance
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | 220 | |
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | 30 | |
วัยทำงาน | 30 | |
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนหันมาออกกำลังกายเพิ่มมากชึ้น ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้เข้าร่วมการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น |
50.00 | 220.00 | ||
2 | ลดจำนวนอาการเจ็บป่วยของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด : จำนวนอาการเจ็บป่วยของเด็กและเยาวชนลดน้อยลง |
50.00 | 220.00 | ||
3 | สร้างเสริมประสบการณ์ในการเป็นผู้นำการออกกำลังของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ตัวชี้วัด : นักศึกษามีพัฒนาการในเรื่องของการเป็นผู้นำการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น |
10.00 | 30.00 | ||
4 | เพิ่มความรู้ให้กับเด็กและเยาวชนเข้าใจในเรื่อง 3อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง 3อ. เพิ่มมากขึ้น |
50.00 | 220.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 280 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | 220 | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | 30 | ||
วัยทำงาน | 30 | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ออกกำลังกาย สบายชีวี ด้วยวิถี Sports Dance จังหวัด ลพบุรี
รหัสโครงการ 61-ก.05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นาวสาว กรรณิการ์ แตงดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......