แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี ”
ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
หัวหน้าโครงการ
นาง นที คงประพันธ์
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี
ที่อยู่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ 61-ตต.08 เลขที่ข้อตกลง ุ61-ตค.08
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี จังหวัดราชบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี รหัสโครงการ 61-ตต.08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมส่งผลให้เด็กและเยาวชนในเมืองโดยเฉพาะเด็กนักเรียน โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรีในปัจจุบันมีกิจกรรมทางกายลดลงและมีปัญหาสุขภาพมากขึ้น มีภาวะน้ำหนักเกินถ้าเด็กนักเรียนเหล่านี้รู้จักการรับประทานอาหารให้ถูกต้องในสัดส่วนที่พอเหมาะมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและมีการพักผ่อนที่เพียงพอจะทำให้เด็กเหล่านี้เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและได้สัดส่วนพร้อมทั้งมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและมีสติปัญญาที่ดีซึ่งจะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่อย่างมีคุณภาพ เด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินเป็นปัญหาหนึ่งที่จะต้องเร่งแก้ไข ไม่ได้เป็นปัญหาแค่ในเรื่องของความสวยงามหรือบุคลิกภาพเท่านั้นแต่มีโอกาสเป็นอันตรายต่อสุขภาพและโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจเบาหวานความดันโลหิตสูงข้ออักเสบหยุดหายใจขณะหลับ ฯลฯจะเห็นได้ว่าเมื่อเกิดภาวะน้ำหนักเกินขึ้นมาแล้วมักมีโรคแทรกซ้อนตามมามากมายการรักษาก็ค่อนข้างยุ่งยากดังนั้นการป้องกันไม่ให้เด็กมีภาวะน้ำหนักเกิน สร้างอุปนิสัยการรับประทานอาหารที่ถูกต้องออกกำลังกายให้เป็นกิจวัตรประจำวันและถูกหลักการออกกำลังกายเพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีเจริญเติบโตตามศักยภาพเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรงในอนาคตถึงเวลาแล้วที่ทุุกฝ่ายต้องร่วมมือกันรณรงค์ให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกหลักโภชนาการซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความร่วมมือและจะต้องเร่งแก้ไขเพราะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพในอนาคต สมควรอย่างยิ่งที่จะต้องให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมทางกายในรูปแบบต่าง ๆ ให้เพียงพอและเหมาะสมกับเด็กนักเรียนแต่ละคนกิจกรรมทางกายถือเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตเพราะจะทำให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกายมีการทำงานเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อระบบไหลเวียนและระบบหายใจระบบประสาท การจัดกิจกรรมทางกายอาจจะจัดได้หลายรูปแบบเช่นการเล่น (Play)เป็นการเข้าร่วมกิจกรรมโดยการสมัครใจมีอิสระในการเล่นมีความสนุกสนานและไม่เน้นการแข่งขัน การออกกำลังกาย (Exercise)เป็นกิจกรรมทางกายที่มีแบบแผนมีระบบมีการปฏิบัติกันอย่างสม่ำเสมอมีเป้าหมายเพื่อสุขภาพหรือสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้านใดด้านหนึ่งกีฬา (Sport)เป็นกิจกรรมทางกายที่ต้องใช้ทักษะและมีการแข่งขันมีกฎกติกามีรูปแบบวิธีการและความเฉพาะเจาะจงมากกว่าการออกกำลังกาย ดังนั้น การจัดกิจกรรมทางกายให้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละคนจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและสามารถเลือกกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเองและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- 2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ก่อนเริ่มโครงการ
- 2.กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพหลังเลิกเรียน
- 3. ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ หลังเสร็จสิ้นโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
200
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและสามารถเลือกกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเองและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 สามารถเลือกกิจกรรมทางการเพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเอง และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
60.00
80.00
2
2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพดีขึ้น โดยทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพทั้ง 5 องค์ประกอบ
60.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
-
วัยรุ่น (13-15 ปี)
200
เยาวชน (15-20 ปี)
-
วัยทำงาน
-
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ 61-ตต.08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นาง นที คงประพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี ”
ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรีหัวหน้าโครงการ
นาง นที คงประพันธ์
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี
ที่อยู่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ 61-ตต.08 เลขที่ข้อตกลง ุ61-ตค.08
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี จังหวัดราชบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี รหัสโครงการ 61-ตต.08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมส่งผลให้เด็กและเยาวชนในเมืองโดยเฉพาะเด็กนักเรียน โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรีในปัจจุบันมีกิจกรรมทางกายลดลงและมีปัญหาสุขภาพมากขึ้น มีภาวะน้ำหนักเกินถ้าเด็กนักเรียนเหล่านี้รู้จักการรับประทานอาหารให้ถูกต้องในสัดส่วนที่พอเหมาะมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและมีการพักผ่อนที่เพียงพอจะทำให้เด็กเหล่านี้เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและได้สัดส่วนพร้อมทั้งมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและมีสติปัญญาที่ดีซึ่งจะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่อย่างมีคุณภาพ เด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินเป็นปัญหาหนึ่งที่จะต้องเร่งแก้ไข ไม่ได้เป็นปัญหาแค่ในเรื่องของความสวยงามหรือบุคลิกภาพเท่านั้นแต่มีโอกาสเป็นอันตรายต่อสุขภาพและโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจเบาหวานความดันโลหิตสูงข้ออักเสบหยุดหายใจขณะหลับ ฯลฯจะเห็นได้ว่าเมื่อเกิดภาวะน้ำหนักเกินขึ้นมาแล้วมักมีโรคแทรกซ้อนตามมามากมายการรักษาก็ค่อนข้างยุ่งยากดังนั้นการป้องกันไม่ให้เด็กมีภาวะน้ำหนักเกิน สร้างอุปนิสัยการรับประทานอาหารที่ถูกต้องออกกำลังกายให้เป็นกิจวัตรประจำวันและถูกหลักการออกกำลังกายเพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีเจริญเติบโตตามศักยภาพเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรงในอนาคตถึงเวลาแล้วที่ทุุกฝ่ายต้องร่วมมือกันรณรงค์ให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกหลักโภชนาการซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความร่วมมือและจะต้องเร่งแก้ไขเพราะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพในอนาคต สมควรอย่างยิ่งที่จะต้องให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมทางกายในรูปแบบต่าง ๆ ให้เพียงพอและเหมาะสมกับเด็กนักเรียนแต่ละคนกิจกรรมทางกายถือเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตเพราะจะทำให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกายมีการทำงานเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อระบบไหลเวียนและระบบหายใจระบบประสาท การจัดกิจกรรมทางกายอาจจะจัดได้หลายรูปแบบเช่นการเล่น (Play)เป็นการเข้าร่วมกิจกรรมโดยการสมัครใจมีอิสระในการเล่นมีความสนุกสนานและไม่เน้นการแข่งขัน การออกกำลังกาย (Exercise)เป็นกิจกรรมทางกายที่มีแบบแผนมีระบบมีการปฏิบัติกันอย่างสม่ำเสมอมีเป้าหมายเพื่อสุขภาพหรือสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้านใดด้านหนึ่งกีฬา (Sport)เป็นกิจกรรมทางกายที่ต้องใช้ทักษะและมีการแข่งขันมีกฎกติกามีรูปแบบวิธีการและความเฉพาะเจาะจงมากกว่าการออกกำลังกาย ดังนั้น การจัดกิจกรรมทางกายให้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละคนจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและสามารถเลือกกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเองและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- 2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ก่อนเริ่มโครงการ
- 2.กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพหลังเลิกเรียน
- 3. ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ หลังเสร็จสิ้นโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 200 | |
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและสามารถเลือกกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเองและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 สามารถเลือกกิจกรรมทางการเพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเอง และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
60.00 | 80.00 | ||
2 | 2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพดีขึ้น ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพดีขึ้น โดยทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพทั้ง 5 องค์ประกอบ |
60.00 | 80.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 200 | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กอ้วนในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์จังหวัดราชบุรี จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ 61-ตต.08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นาง นที คงประพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......