PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา ”

ตำบลนาขา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางสาว อรทัย เกิดบางกา

ชื่อโครงการ Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา

ที่อยู่ ตำบลนาขา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 61-ต.03 เลขที่ข้อตกลง 61-ต.03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 20 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาขา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา



บทคัดย่อ

โครงการ " Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาขา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 61-ต.03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 20 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีคนอ้วนถึง 17 ล้านคน มีจำนวนเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 4 ล้านคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งโรคอ้วนนอกจากจะส่งผลต่อภาพลักษณ์และบุคลิกภาพแล้วยังส่งผลโดยตรงถึงสุขภาพร่างกาย ทั้งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดไขมันพอกตับ ไขมันในช่องท้อง ไขมันอุดตันในเส้นเลือด เกิดนิ่วในถุงน้ำดี โรคข้อเข้าเสื่อมก่อนวัยอันควร (สสส. 2561)
ซึ่งปัญหาเหล่านี้มาจากวิถีชีวิตของคนไทยเริ่มเปลี่ยนไปจากอดีตอย่างมากมาย เห็นได้ชัดเจนจากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและแข่งขันกันตลอดเวลา ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ทั้งในด้านสุขภาพและด้านร่างกาย จิตใจ ซึ่งในปัจจุบันจะพบเห็นได้จากข่าวแทบทุกวันเกี่ยวกับปัญหาโรคภัยต่าง ๆ และโรคเรื้อรังที่เกิดจากการดำเนินชีวิตเน้นความสะดวก ความสบายและความรวดเร็ว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจและสมอง ทำให้ร่างกายเสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ทำให้เด็ก วัยรุ่นและประชาชนในชุมชนหันไปพึ่งพาสินค้าที่จะทำให้สุขภาพดีจากสื่อต่าง ๆ เช่น ยาลดความอ้วน น้ำสมุนไพรต่าง ๆ ซึ่งไม่จำเป็นและมีราคาแพง ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยวิธีง่าย ๆ และได้ผลจึงเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนและเป็นการทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชนอีกด้วย ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านหนองปลา จึงเล็งเห็นความสำคัญเรื่องสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชน ทั้งทางร่างกายและจิตใจ จึงได้คิดโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ “Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข สุขภาพแข็งแรง”ซึ่งเป็นโครงการที่ส่งเสริมให้นักเรียนและประชาชนในชุมชนมีความตระหนักถึงการออกกำลังกาย มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและได้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งมีแกนนำในการออกกำลังกายในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างแกนนำในการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ ที่เป็นตัวแทนนักเรียนและประชาชนในชุมชน
  2. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ อย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมและวางแผนการดำเนินการตามโครงการ
  2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการและเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  4. คัดเลือกแกนนำออกกำลังกาย
  5. ทดสอบสมรรถนะทางกาย ครั้งที่ 1
  6. ปรับพื้นที่ให้เหมาะสมในการทำกิจกรรม
  7. การออกกำลังกายแบบแบบ Zumba ประยุกต์ ต่อเนื่องทุกวัน จันทร์-ศุกร์
  8. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว "ปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างที่ปลูก"
  9. กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ "Zumba ประยุกต์"
  10. จัดอบรมแกนนำออกกำลังกาย
  11. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องปราชญ์ชาวบ้าน สู่วิถีการเรียนรู้
  12. จัดประกวดการแข่งขันออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์และกิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน
  13. ทดสอบสมรรถนะทางกาย ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 55
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการและเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดหน้าที่ของผู้ดำเนินโครงการทุกฝ่ายที่รับผิดชอบโครงการ
2. ดำเนินการเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ 3. ประชุมครูในโรงเรียนเพื่อชี้แจงหน้าที่รับผิดชอบและสร้างความเข้าใจที่ตรงกันในการปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้เนื้อหาโครงการ Zumba ประยุกต์ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา
  2. ทุกคนรับทราบหน้าที่ในการดำเนินโครงการทุกฝ่ายที่รับผิดชอบโครงการ
  3. เสนอโครงการและได้รับอนุมัติจากผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองปลา
  4. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและดำเนินการในส่วนที่รับผิดชอบ

 

10 0

2. คัดเลือกแกนนำออกกำลังกาย

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. รับสมัครนักเรียนที่ต้องการเป็นแกนนำออกกำลังกาย
  2. นักเรียนที่สมัครแกนนำทำการทดสอบร่างกายและฝึกซ้อมเต้นในตอนเย็นก่อนกลับบ้านทุกวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้แกนนำออกกำลังกายจำนวน 10 คนที่ได้มีการฝึกซ้อมเต้นทุกวัน เพื่อที่จะสามารถเป็นแกนนำให้น้อง ๆในโรงเรียนได้

 

10 0

3. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 30 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. สั่งทำป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 3.5*3.3 จำนวน 2 ป้าย
  2. ครูและนักเรียนไปประชาสัมพันธ์โครงการ Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลาให้ชาวบ้านในชุมชนทราบ ผ่านทางการประชุมหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลนาขา อำเภอหลังสวน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ป้ายไวนิลมาติดหน้าโรงเรียนเป็นการประชาสัมพันธ์โครงการให้ชาวบ้านในชุใชนทราบและเข้าร่วมโครงการออกกำลังกาย
  2. ชาวบ้านในชุมชนรับทราบกิจกรรมในโครงการและให้ความสนใจในกิจกรรม โดยการสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน

 

100 0

4. ทดสอบสมรรถนะทางกาย ครั้งที่ 1

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดซื้ออุปกรณ์ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ได้แก่ ที่วัดส่วนสูงและที่วัดความอ่อนตัว
  2. ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคน ตามแบบบันทึกผลทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคน ก่อนการเข้าร่วมโครงการ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม

 

55 0

5. ประชุมและวางแผนการดำเนินการตามโครงการ

วันที่ 7 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

โรงเรียนประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ,อสม. ,และผู้ใหญ่บ้าน ,อบต.นาขา, รพ.สต.นาขา เพื่อชี้แจงการดำเนินโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ “Zumbaประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา” และอธิบายขั้นตอนและแนวทางในการดำเนินดำเนินกิจกรรมของโรงเรียน เพื่อเชิญชวนให้ชาวบ้านในชุมชนและผู้ปกครองให้การสนับสนุนกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทุกฝ่ายให้การยอมรับโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ “Zumbaประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา”
  2. ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชนในการสนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม

 

10 0

6. ปรับพื้นที่ให้เหมาะสมในการทำกิจกรรม

วันที่ 7 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในการปรับพื้นที่ทำกิจกรรมได้แก่ สีทาถนนและภู่กัน แปรงทาสีขนาดต่าง ๆ
  2. ทำการวางแผนการปรับปรุงพื้นที่และดำเนินการวาดและลงสีพื้นถนนตามแบบที่คิดและร่างไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้พื้นถนนที่เป็นพื้นที่สำหรับใช้ในการออกกำลังกายและเป็นถนนแห่งการเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถมาเล่นเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ยามว่างได้

 

10 0

7. การออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ ต่อเนื่องทุกวัน จันทร์-ศุกร์

วันที่ 9 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. นักเรียนและผู็อำนวยการรร.ช่วยกันสร้างแสตนสำหรับแกนนำที่ใช้ในการออกกำลังกาย
  2. นักเรียนทุกคนออกกำลังกายเต้น Zumba ประยุกต์ ต่อเนื่องทุกวัน จันทร์-ศุกร์ ในตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียน โดยมีแกนนำเต้นออกกำลังกายอยู่ต้านหน้าและบนสแตน 1 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนทุกคนได้เต้นออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ ต่อเนื่องทุกวัน จันทร์-ศุกร์ โดยทำตามแกนนำเกิดความสนุกสนานและได้ออกกำลังกาย

 

55 0

8. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว "ปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างที่ปลูก"

วันที่ 9 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. นักเรียนในแต่ละชั้นร่วมทำกิจกรรมปลูกผักสวนครัว ในโรงเรือนผักกางมุ้ง
  2. โดยนักเรียนเลือกว่าจะปลูกผักสวนครัวอะไรในแปลงผักของตนเอง และดำเนินการซื้อเมล็ดพันธุ์
  3. ลงมือปลูกผักสวนครัวโดยใช้เวลาในช่วงวันจันทร์-อังคาร เวลา 14.40 น.-15.30 น. และรดน้ำดูแลแปลงผักของตนเอง เป็นการออกกำลังกายและฝึกความรับผิดชอบของนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ผักสวนครัว เช่น คะน้า  ผักบุ้งจีน  กวางตุ้ง ผักกาดเขียว ที่นักเรียนร่วมกันปลูกมาใช้เป็นส่วนหนึี่งในโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน และเป็นการนำผลผลิตที่ได้จำหน่ายสู่ชุมชน ทำให้นักเรียนได้ออกกำลังกาย เรียนรู้การปลูกผัก การวางแผน การจัดจำหน่าย เกิดการเรียนรู้และความภาคภูมิใจในตนเองอีกด้วย

 

55 0

9. กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ "Zumba ประยุกต์"

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้กับ “Zumba ประยุกต์” โดยการให้แกนนำจัดหาสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน  เพื่อจัดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ เกี่ยวกับ Zumba ประยุกต์ ในวันพุธ พฤหัสบดีและวันศุกร์ ในเวลา 14.40 – 15.30 น. ซึ่งมีเนื้อหาในการจัดกิจกรรมดังนี้ 3.1 ประวัติและความเป็นมาของ Zumba ประยุกต์ 3.2 ดนตรีและจังหวะในการเต้น Zumba ประยุกต์ 3.3 การออกแบบท่าเต้น Zumba ประยุกต์ 3.4 การออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์
  2. นักเรียนดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ลงมือทำด้วยตนเอง (Active learning) โดยมีครูคอยให้การดูแลและช่วยเหลือในการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนได้มีการเรียนรู้ประวัติและความเป็นมาของ Zumba ประยุกต์ ดนตรีและจังหวะในการเต้น Zumba ประยุกต์ การออกแบบท่าเต้น Zumba ประยุกต์ และการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์
  2. นักเรียนได้ฝึกซ้อมเต้นประกอบจังหวะ โดยคิดท่าและเนื้อเพลงเอง เพื่อนใช้ในการประกวดแข่งขันเต้น Zumba ประยุกต์

 

55 0

10. จัดอบรมแกนนำออกกำลังกาย

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ลงทะเบียนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมอบรมโครงการ
  2. นักเรียนชั้นป.1-6 เข้ารับการอบรม เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง โรคอ้วนในเด็ก สมุนไพรไทยที่ใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น จากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขา และอสม.ตำบลนาขา ในช่วงเช้า
  3. ในช่วงบ่ายนักเรียนเข้ารับการอบรม เรื่อง การออกกำลังกายที่ถูกต้องและการออกแบบท่าเต้น Zumba ฝึกซ้อมการเต้นจากครูที่มาเป็นวิทยากรเชี่ยวชาญในเรื่องการเต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนได้รับความรู้เรื่อง เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง โรคอ้วนในเด็ก สมุนไพรไทยที่ใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น
  2. นักเรียนได้ความรู้เรื่องารออกกำลังกายที่ถูกต้องและการออกแบบท่าเต้น Zumba และยังได้ฝึกเต้นออกกำลังกาย โดยมีวิทยากรคอยชี้แนะและให้การช่วยเหลือ

 

72 0

11. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องปราชญ์ชาวบ้าน สู่วิถีการเรียนรู้

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. นักเรียนเข้ารับฟังการบรรยายจากปราชญ์ชาวบ้านมาสอนเกี่ยวกับอาชีพในชุมชนว่ามีอาชีพอะไรบ้าง และมาสรุปเป็นอาชีพหลัง คือการตอนกิ่งพันธุ์ไม้ขาย โดยการสอนให้นักเรียนรู้จากการตอนกิ่งพันธ์ุไม้ต่าง ๆ
  2. นักเรียนเขียนแผนผังคว่ามคิดขั้นตอนการกิ่งพันธุ์ไม้จากการที่ได้ฟังบรรยายแล้วนำเสนอกิจกรรม
  3. ช่วงบ่ายนักเรียนลงพื้นที่เพื่อผึกทักษะการตอนกิ่งพันธ์ไม้ในโรงเรียน ตามวิธีการและขั้นตอนที่ได้เรียนรู้ในภาคเช้า โดยมีวิทยากรคอยดูแลนักเรียนในการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนได้รู้จักอาชีพในชุมชนของตนเองและเรียนรู้วิธีการตอนกิ่งพันธ์ไม้
  2. นักเรียนได้เรียนรู้โดยการฝึกปฎิบัติ (Active Learning) เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสนุกสนานและช่วยเหลือแนะนำซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม

 

72 0

12. จัดประกวดการแข่งขันออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์และกิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน

วันที่ 14 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดเตรียมสถานที่ที่ใช้ในการประกวดเต้นการแข่งขันออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์
  2. โชว์การแสดงเต้น Zumba ประยุกต์ เปิดงานของนักเรียนชั้นประถมศึกษษปีที่ 1-6
  3. ประกวดระกวดเต้นการแข่งขันออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ โดยแข่งเป็นทีม ทีมละ 10 คน และมีกรรมการตัดสิน 3 ท่าน
  4. ช่วงบ่ายมีกิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้านของนักเรียน ได้แก่ ชักเย่อ วิ่ง 3 ขา และฟุตบอลคู่ผสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนได้โชว์ความสามารถของตนเองในการเต้นประกอบเพลงที่กลุ่มตนเองเป็นคนคิดค้นเพลงและท่าเต้น ฝึกซ้อมจนพร้อมเพรียงกันและเป็นการฝึกความกล้าแสดงออกของนักเรียนทุกคน
  2. นักเรียนได้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ได้แก่ ชักเย่อ วิ่ง 3 ขา และฟุตบอลคู่ผสม เกิดความสนุกสนาน ได้ออกกำลังกายและฝึกการรู้แพ้ รู้ชนะ มีน้ำใจนักกีฬา

 

100 0

13. ทดสอบสมรรถนะทางกาย ครั้งที่ 2

วันที่ 19 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคน ตามแบบบันทึกผลทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียน ครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคน ตามแบบบันทึกผลทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียน ครั้งที่ 2 นำมาเปรียบเทียบกับครั้งที่ 1

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำในการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ ที่เป็นตัวแทนนักเรียนและประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะสามารถสร้างแกนนำในการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ ที่เป็นตัวแทนนักเรียน จำนวน 10 คนและประชาชนในชุมชน จำนวน 10 ที่เป็นแกนนำในการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ ให้กับนักเรี่ยนและประชาชนได้ตลอดการดำเนินการโครงการ
50.00 70.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว นักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนยังมีมีการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากยังมีแกนนำในการออกกำลังกายที่ออกกำลังกายทุกวัน โดยวัดจากการลงชื่อเข้าร่วมการออกกำลังกายและการติดตามผลต่อไป
50.00 70.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : การวัดค่าดัชนีมวลกายของนักเรียนและประชาชนก่อนเข้าร่วมโครงการ และวัดค่าดัชนีมวลกายของนักเรียนและประชาชนหลังเข้าร่วมโครงการ ซึ่งหลังเข้าร่วมโครงการนักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ จะต้องมีมีค่าดัชนีมวลกายผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70
50.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
วัยเรียน (6-12 ปี) 55
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) 0
วัยทำงาน 0
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ 0
ผู้หญิง 0
มุสลิม 0
พระภิกษุ 0
ชาติพันธุ์ 0
ผู้ต้องขัง 0
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) 0
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) 0
แรงงานข้ามชาติ 0
อื่น ๆ 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำในการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ ที่เป็นตัวแทนนักเรียนและประชาชนในชุมชน (2) เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์ อย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์  มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมและวางแผนการดำเนินการตามโครงการ (2) แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการและเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ (3) ประชาสัมพันธ์โครงการ (4) คัดเลือกแกนนำออกกำลังกาย (5) ทดสอบสมรรถนะทางกาย ครั้งที่ 1 (6) ปรับพื้นที่ให้เหมาะสมในการทำกิจกรรม (7) การออกกำลังกายแบบแบบ Zumba ประยุกต์ ต่อเนื่องทุกวัน จันทร์-ศุกร์ (8) กิจกรรมปลูกผักสวนครัว "ปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างที่ปลูก" (9) กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ "Zumba ประยุกต์" (10) จัดอบรมแกนนำออกกำลังกาย (11) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องปราชญ์ชาวบ้าน  สู่วิถีการเรียนรู้ (12) จัดประกวดการแข่งขันออกกำลังกายแบบ Zumba ประยุกต์และกิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน (13) ทดสอบสมรรถนะทางกาย ครั้งที่ 2 (14)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา

รหัสโครงการ 61-ต.03 รหัสสัญญา 61-ต.03 ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2562 - 20 ธันวาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

Zumba ประยุกต์ ส่งเสริมความสุข โรงเรียนบ้านหนองปลา จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 61-ต.03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาว อรทัย เกิดบางกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด