แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน ”
กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร. สุชาติ ทวีพรปฐมกุล
ชื่อโครงการ ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน
ที่อยู่ กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-02070 เลขที่ข้อตกลง 61-00-1844
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2561 ถึง 31 มกราคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหัสโครงการ 61-02070 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2561 - 31 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,873,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินการส่งเสริมนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย สสส. ได้มีการดำเนินการตั้งแต่การจัดตั้งกองทุน ในปี 2544 อย่างไรก็ตามการดำเนินการในช่วงแรกๆ ยังคงเน้นในส่วนของการออกกำลังกายอย่างมีรูปแบบ มีแบบแผน การออกกำลังกายที่ดำเนินการอยู่แล้ว ที่งานนวัตกรรมได้สนับสนุนให้เกิดความต่อเนื่อง ขยายผล และเป็นแบบอย่างกับชุมชนอื่นๆ ควบคู่ไปกับการเก็บข้อมูลด้านสมรรถภาพทางกายในทุกครั้งที่ให้การสนับสนุนงบประมาณและแนวคิดกับโครงการ การดำเนินการในช่วงแรกๆ มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายหลักในแต่ปีโดยเน้นชุมชนสถานศึกษาวัด และกลุ่มคนที่แตกต่างกัน ได้คำนึงถึงกลุ่มอายุ ได้แก่ เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ
การดำเนินการทั้งหมดผ่านเครือข่ายความร่วมมือของ 7 ภูมิภาค ได้แก่ (ภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันตก) โดยแต่ละภูมิภาคจะดำเนินการทั้งในชิงรุกและเชิงรับ จากการจัดกิจกรรมโดยคณะอนุกรรมการของแต่ละภูมิภาคในการให้ความรู้ เผยแพร่ความรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (เช่น Webpage ของภูมิภาค หรือ Facebook) แนะนำการเสนอโครงการ ขณะที่เชิงรับ โดยการให้การสนับสนุนโครงการการออกกำลังกายของกลุ่มหรือชุมชนต่างๆ ทั่วประเทศ
ผลการดำเนินการเกือบ 15 ปีที่ผ่านมา งานนวัตกรรมการออกกำลังกายได้ให้การสนับสนุนโครงการต่างๆกว่า 1,000 โครงการ มีการรวบรวม และสรุปผลการดำเนินการ รวมทั้งกิจกรรมต้นแบบของแต่ละภูมิภาค เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้สนใจอย่างต่อเนื่องทุกปี อย่างไรก็ตามการดำเนินการดังกล่าวนอกจากจะมีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมให้คนไทยรักสุขภาพ และยังเป็นการรวมตัวกันเพื่อการออกกำลังกายหรือ มีผู้นำ และการประสานงานเป็นหลัก สำหรับในปี 2561-2562 หากกิจกรรมการออกกำลังกาย ที่มีความหมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกาย และเน้นการใช้กล้ามเนื้อและพลังงานมากกว่าการพักผ่อน ในระยะเวลาที่เหมาะสม ที่สามารถทำได้ครอบคลุมมากกว่าเพียงการออกกำลังกายที่ผ่านมาได้ และข้อจำกัดเมื่อการออกกำลังกายยังเป็นเรื่องของการเคลื่อนไหวร่างกายที่ต้องมีแบบแผน มีการรวมตัวกัน ออกกำลังกายเป็นกลุ่ม ต้องมีชุดหรืออุปกรณ์ การมีสุขภาพดีถ้วนหน้าและเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตจึงสมควรต้องเปลี่ยนแนวทางไปเริ่มต้นที่ความเข้าใจ และทัศนคติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกาย การมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม และโครงการที่งานนวัตกรรมควรให้การสนับสนุน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี
- เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประสานงานและดำเนินงานของคณะกรรมการ
- พัฒนาศักยภาพของคณะทำงานภูมิภาค/ประชุมคัดสรรพื้นที่ภาคีศักยภาพ
- ให้คำปรึกษาสนับสนุนส่งเสริมทีมพี่เลี้ยงให้ดำเนินงานโครงการผ่าน website
- สนับสนุนโครงการ/พิจารณาโครงการ/ตรวจเยี่ยมโครงการ
- พัฒนาศักยภาพชุมชนแต่ละภูมิภาคเพื่อให้ชุมชนพัฒนาตนเองได้
- ถอดบทเรียน/ค้นหาชุดความรู้นวัตกรรมเด่นแต่ละภาค
- จัดประชุมประสานงานส่วนกลาง/ประชุมสรุปรายงานผลงานต้นแบบ(รูปเล่ม)
- สื่อสารรณรงค์ PA ให้กับชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
50,000
วัยเรียน (6-12 ปี)
70,000
วัยรุ่น (13-15 ปี)
60,000
เยาวชน (15-20 ปี)
80,000
วัยทำงาน
30,000
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
25,000
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (วันละอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ทุกวันใน 1 สัปดาห์)
50.00
70.00
2
เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
50.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
315000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
50,000
วัยเรียน (6-12 ปี)
70,000
วัยรุ่น (13-15 ปี)
60,000
เยาวชน (15-20 ปี)
80,000
วัยทำงาน
30,000
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
25,000
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-02070
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผศ.ดร. สุชาติ ทวีพรปฐมกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ
“ ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน ”
กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานครหัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร. สุชาติ ทวีพรปฐมกุล
ชื่อโครงการ ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน
ที่อยู่ กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-02070 เลขที่ข้อตกลง 61-00-1844
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2561 ถึง 31 มกราคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ กรุงเทพ จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหัสโครงการ 61-02070 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2561 - 31 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,873,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินการส่งเสริมนวัตกรรมกิจกรรมทางกาย สสส. ได้มีการดำเนินการตั้งแต่การจัดตั้งกองทุน ในปี 2544 อย่างไรก็ตามการดำเนินการในช่วงแรกๆ ยังคงเน้นในส่วนของการออกกำลังกายอย่างมีรูปแบบ มีแบบแผน การออกกำลังกายที่ดำเนินการอยู่แล้ว ที่งานนวัตกรรมได้สนับสนุนให้เกิดความต่อเนื่อง ขยายผล และเป็นแบบอย่างกับชุมชนอื่นๆ ควบคู่ไปกับการเก็บข้อมูลด้านสมรรถภาพทางกายในทุกครั้งที่ให้การสนับสนุนงบประมาณและแนวคิดกับโครงการ การดำเนินการในช่วงแรกๆ มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายหลักในแต่ปีโดยเน้นชุมชนสถานศึกษาวัด และกลุ่มคนที่แตกต่างกัน ได้คำนึงถึงกลุ่มอายุ ได้แก่ เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ การดำเนินการทั้งหมดผ่านเครือข่ายความร่วมมือของ 7 ภูมิภาค ได้แก่ (ภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันตก) โดยแต่ละภูมิภาคจะดำเนินการทั้งในชิงรุกและเชิงรับ จากการจัดกิจกรรมโดยคณะอนุกรรมการของแต่ละภูมิภาคในการให้ความรู้ เผยแพร่ความรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (เช่น Webpage ของภูมิภาค หรือ Facebook) แนะนำการเสนอโครงการ ขณะที่เชิงรับ โดยการให้การสนับสนุนโครงการการออกกำลังกายของกลุ่มหรือชุมชนต่างๆ ทั่วประเทศ ผลการดำเนินการเกือบ 15 ปีที่ผ่านมา งานนวัตกรรมการออกกำลังกายได้ให้การสนับสนุนโครงการต่างๆกว่า 1,000 โครงการ มีการรวบรวม และสรุปผลการดำเนินการ รวมทั้งกิจกรรมต้นแบบของแต่ละภูมิภาค เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้สนใจอย่างต่อเนื่องทุกปี อย่างไรก็ตามการดำเนินการดังกล่าวนอกจากจะมีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมให้คนไทยรักสุขภาพ และยังเป็นการรวมตัวกันเพื่อการออกกำลังกายหรือ มีผู้นำ และการประสานงานเป็นหลัก สำหรับในปี 2561-2562 หากกิจกรรมการออกกำลังกาย ที่มีความหมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกาย และเน้นการใช้กล้ามเนื้อและพลังงานมากกว่าการพักผ่อน ในระยะเวลาที่เหมาะสม ที่สามารถทำได้ครอบคลุมมากกว่าเพียงการออกกำลังกายที่ผ่านมาได้ และข้อจำกัดเมื่อการออกกำลังกายยังเป็นเรื่องของการเคลื่อนไหวร่างกายที่ต้องมีแบบแผน มีการรวมตัวกัน ออกกำลังกายเป็นกลุ่ม ต้องมีชุดหรืออุปกรณ์ การมีสุขภาพดีถ้วนหน้าและเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตจึงสมควรต้องเปลี่ยนแนวทางไปเริ่มต้นที่ความเข้าใจ และทัศนคติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกาย การมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม และโครงการที่งานนวัตกรรมควรให้การสนับสนุน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี
- เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประสานงานและดำเนินงานของคณะกรรมการ
- พัฒนาศักยภาพของคณะทำงานภูมิภาค/ประชุมคัดสรรพื้นที่ภาคีศักยภาพ
- ให้คำปรึกษาสนับสนุนส่งเสริมทีมพี่เลี้ยงให้ดำเนินงานโครงการผ่าน website
- สนับสนุนโครงการ/พิจารณาโครงการ/ตรวจเยี่ยมโครงการ
- พัฒนาศักยภาพชุมชนแต่ละภูมิภาคเพื่อให้ชุมชนพัฒนาตนเองได้
- ถอดบทเรียน/ค้นหาชุดความรู้นวัตกรรมเด่นแต่ละภาค
- จัดประชุมประสานงานส่วนกลาง/ประชุมสรุปรายงานผลงานต้นแบบ(รูปเล่ม)
- สื่อสารรณรงค์ PA ให้กับชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 50,000 | |
วัยเรียน (6-12 ปี) | 70,000 | |
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 60,000 | |
เยาวชน (15-20 ปี) | 80,000 | |
วัยทำงาน | 30,000 | |
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | 25,000 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (วันละอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ทุกวันใน 1 สัปดาห์) |
50.00 | 70.00 | ||
2 | เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง |
50.00 | 70.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 315000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 50,000 | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | 70,000 | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 60,000 | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | 80,000 | ||
วัยทำงาน | 30,000 | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | 25,000 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่งเสริมนวัตกรรมทางกายเพื่อสุขภาพระดับชุมชน จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 61-02070
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผศ.ดร. สุชาติ ทวีพรปฐมกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......