PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

ขยับจิตพิชิตกายแข็งแรง ด้วยกิจกรรมทางกาย (สาธิตอนุบาล)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
40.00 85.00 85.00

สูงกว่าเป้าหมายเพราะนักเรียนสนใจกิจกรรมและตั้งใจ

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (วันละอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ทุกวันใน 1 สัปดาห์)
80.00 70.00

สภาพอากาศช่วงจัดกิจกรรมไม่เอื้ออำนวยในการออกกำลังกาย

3 เพื่อพัฒนาส่งเสริมนักเรียนให้ได้มีกิจกรรมทางกายมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมให้ครูได้จัดกิจกรรมทางกายบูรณาการกับหน่วยการเรียนรู้ในชั้นเรียน
40.00 70.00 90.00

เป็นกิจกรรมที่บูรณาการได้เหมาะสม มีการวางแผนการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี โดยใช้รูปแบบPlc

4 เพื่อปรับปรุงสถานที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียนให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : จำนวนของสถานที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีมากขึ้นและเหมาะสมมากขึ้น
50.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
วัยเรียน (6-12 ปี) 250 250
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) 0
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ 0
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย อายุก่อน 5 ปี (3) เพื่อพัฒนาส่งเสริมนักเรียนให้ได้มีกิจกรรมทางกายมากขึ้น (4) เพื่อปรับปรุงสถานที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียนให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมทางกาย (5) เพิ่มการสัญจรของเด็กและวัยรุ่น (อายุ 5-17 ปี)โดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมางกายนอกเวลาเรียนกิจกรรมจัดทำแผน กิจกรรมการเรีนการสอน กิจกรรมสรุป การทำโครงการ (2) ปรับพื้นที่ส่งเสริมการจัดกิจกรรมทางกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh