PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โครงการการออกกำลังกายด้วยมวยไทยสำหรับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ โครงการการออกกำลังกายด้วยมวยไทยสำหรับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก ”

จังหวัดนครปฐม

หัวหน้าโครงการ
รองศาสตราจารย์ ดร. ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล

ชื่อโครงการ โครงการการออกกำลังกายด้วยมวยไทยสำหรับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก

ที่อยู่ จังหวัดนครปฐม จังหวัด นครปฐม

รหัสโครงการ 61-ตต.07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2019 ถึง 30 กันยายน 2019


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการออกกำลังกายด้วยมวยไทยสำหรับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดนครปฐม" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนครปฐม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการออกกำลังกายด้วยมวยไทยสำหรับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการออกกำลังกายด้วยมวยไทยสำหรับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนครปฐม รหัสโครงการ 61-ตต.07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2019 - 30 กันยายน 2019 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนขนาดเล็กเป็นโรงเรียนที่มีจำนวนนักเรียนน้อยกว่า 120 คน กระจายอยู่ในพื้นที่ชนบททุกจังหวัดทั่วประเทศ กำลังประสบปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากในยุคทุนนิยมที่ผู้คนมักหลั่งไหลเข้าสู่สังคมในเมือง ละทิ้งวิถีชนบท ผู้ปกครองที่มีฐานะดีนิยมส่งบุตรหลานไปเข้าเรียนในโรงเรียนที่มีชื่อเสียงหรือโรงเรียนขนาดใหญ่ในตัวเมือง โรงเรียนขนาดเล็กจึงตกอยู่ในสภาพที่ย่ำแย่ โดยสรุป คือ (1) ครูมีจำนวนน้อย จบไม่ตรงวิชาเอก ไม่ใช่คนในพื้นที่ มีภาระงานมาก (2) ผู้ปกครองขาดการเอาใจใส่ดูแลเด็ก ตามใจหรือปล่อยปะละเลย ไม่มีเวลามาพบปะพูดคุยกับครู ไม่มีความเชื่อมั่นโรงเรียนขนาดเล็กและครู โดยคิดว่าครูอัตราจ้างไม่เก่ง จึงมองข้ามโรงเรียนขนาดเล็กและส่งลูกไปเรียนโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่หรือโรงเรียนเอกชน (3) นักเรียนมีจำนวนน้อย มีฐานะค่อนข้างยากจน ไม่มีเงิน ไม่ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อ่านหนังสือไม่ออก ไม่มีกำลังใจ มีปัญหาทางบ้าน ครอบครัวแตกแยก ติดโทรศัพท์ ขาดเรียนบ่อยเพราะต้องไปช่วยผู้ปกครองทำมาหากิน (4) ชุมชนขาดการมีส่วนร่วม โดยผู้ปกครองมองว่าการจัดการศึกษาเป็นหน้าที่ของรัฐบาลโดยกระทรวงศึกษาธิการผ่านโรงเรียนและครู โรงเรียนจึงหาบุคคลที่จะมาช่วยเป็นคณะกรรมการสถานศึกษายากและมักจะไม่เข้าร่วมประชุม และ (5) ขาดงบประมาณและสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน เนื่องจากการจัดสรรงบประมาณเป็นไปตามจำนวนเด็กนักเรียน
ซึ่งการดูแลรักษาสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย โดยกิจกรรมการออกกำลังกายเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถช่วยเสริมสร้างให้มีสุขภาพที่ดีได้ ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพนับเป็นนโยบายการสร้างคุณภาพชีวิตที่สำคัญของรัฐบาลในปัจจุบัน โดยมีกระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมให้ผ่านหน่วยงานระดับจังหวัด กระจายออกสู่อำเภอ และตำบลทั่วทุกพื้นที่ โดยให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ได้ออกกำลังกายด้วยวิธีการต่างๆ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วัน ซึ่งจากนโยบายดังกล่าว คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่ในการบริการให้กับชุมชนและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการดูแลสุขภาพของเยาวชนและประชาชนกระตุ้นให้ตื่นตัวต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ซึ่งจะเป็นสัญญาณทางบวกต่อสุขภาพองค์รวมของสังคมไทย ส่งผลให้เกิดสุขภาพดีถ้วนหน้า ลดการใช้บริการซ่อมสุขภาพ ลดเวลาหยุดงานจากการเจ็บป่วย โดยภาพรวมเป็นการประหยัดงบประมาณของรัฐและหน่วยงานในการจัดระบบบริการสุขภาพ ซึ่งทั้งหมดนี้ทำให้ประเทศชาติมั่นคงขึ้น การอออกกำลังกายด้วยมวยไทยเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ มีความสนุกสนาน รวมทั้งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของชาติได้อีกด้วยดังนั้นการนำการออกกำลังกายด้วยมวยไทยลงในพื้นที่โรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งมีนักเรียนที่ความต้องการเรียนรู้ด้านการออกกำลังกายแต่มีข้อจำกัดด้านบุคลากรที่ขาดความรู้ในการจัดกิจกรรมและอุปกรณ์ต่างๆ จึงควรได้รับการถ่ายทอดและเผยแพร่วิธีการจัดกิจกรรม เพื่อนำไปใช้เป็นกิจกรรมการออกกำลังกายในโรงเรียนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้ออกกำลังกายด้วยมวยไทยและมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี
  2. 2. เพื่อสร้างเยาวชนและครูในโรงเรียนเป็นผู้นำการออกกำลังกายด้วยมวยไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประชุมชี้แจงคณะทำงานและผู้เข้าร่วมโครงการ
  2. การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ครั้งที่ 1
  3. การฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยมวยไทย
  4. การทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 2
  5. การสรุปและประเมินผลกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 200
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน 4
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้ออกกำลังกายด้วยมวยไทยและมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : 1. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยมวยไทย อย่างน้อย 3 วัน 2. เยาวชนมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพดีขึ้นหลังจากการเข้าร่วมออกกำลังกาย ร้อยละ 80
60.00 200.00

 

2 2. เพื่อสร้างเยาวชนและครูในโรงเรียนเป็นผู้นำการออกกำลังกายด้วยมวยไทย
ตัวชี้วัด : มีผู้นำการออกกำลังกายด้วยมวยไทยเพิ่มขึ้น อย่างน้อย 30 คน
60.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 204
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) 200
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 4
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้ออกกำลังกายด้วยมวยไทยและมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี (2) 2. เพื่อสร้างเยาวชนและครูในโรงเรียนเป็นผู้นำการออกกำลังกายด้วยมวยไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมชี้แจงคณะทำงานและผู้เข้าร่วมโครงการ (2) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ครั้งที่ 1 (3) การฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยมวยไทย (4) การทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 2 (5) การสรุปและประเมินผลกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการออกกำลังกายด้วยมวยไทยสำหรับนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัด นครปฐม

รหัสโครงการ 61-ตต.07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รองศาสตราจารย์ ดร. ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด