PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

เตะหน่อย ต่อยนิด ฟิตนาน กับคีตะมวยไทยโรงเรียนวัดสีบัวทอง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ เตะหน่อย ต่อยนิด ฟิตนาน กับคีตะมวยไทยโรงเรียนวัดสีบัวทอง ”

จังหวัดอ่างทอง

หัวหน้าโครงการ
นาย ศิริพจน์ สุขเจริญ

ชื่อโครงการ เตะหน่อย ต่อยนิด ฟิตนาน กับคีตะมวยไทยโรงเรียนวัดสีบัวทอง

ที่อยู่ จังหวัดอ่างทอง จังหวัด อ่างทอง

รหัสโครงการ 61-ก.08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กรกฎาคม 2562 ถึง 21 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"เตะหน่อย ต่อยนิด ฟิตนาน กับคีตะมวยไทยโรงเรียนวัดสีบัวทอง จังหวัดอ่างทอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดอ่างทอง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เตะหน่อย ต่อยนิด ฟิตนาน กับคีตะมวยไทยโรงเรียนวัดสีบัวทอง



บทคัดย่อ

โครงการ " เตะหน่อย ต่อยนิด ฟิตนาน กับคีตะมวยไทยโรงเรียนวัดสีบัวทอง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดอ่างทอง รหัสโครงการ 61-ก.08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กรกฎาคม 2562 - 21 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากนโยบายของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี ภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ "รวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อคนไทย เพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง" โดยมีวัตถุประสงค์ให้ทุกภาคมีส่วนร่วมดำเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ใช้พื้นที่เป็นพื้นฐาน บูรณาการทุกภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้ และเน้นการมีส่วนร่วม สื่อสาธารณะ สร้างความสามัคคีและความแข็งแรงทางจิตใจ มีสำนึกสาธารณะ นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายที่สำคัญของมิติทางกายคือให้ประชาชน อายุ 6 ปี ขึ้นไปเคลื่อนไหวออกแรงกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อสุขภาพ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้ตอบสนองนโยบายดังกล่าว การส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา จะทำให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจสดชื่น ดังคำกล่าว ที่ว่าจิตใจที่งดงามย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง (A Sound mind in a sound body) แสดงว่าร่างกายกับจิตใจมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ร่างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบานหรือในทางกลับกัน ถ้าจิตใจที่เข้มแข็ง จะเกิดพลังหรือกำลังใจทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น
มวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ประจำชาติที่พัฒนาการเป็นกีฬาของโลกและเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าต่อบุคคล สังคม โดยรวมทั้งภายในและต่างประเทศ บุคคลที่ฝึกมวยไทยจะมีพัฒนาการทางกายอารมณ์สังคม จิตใจและสติปัญญา สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข กิจกรรมการชกมวยไทยเป็นกิจกรรมทางสังคมร่วมกันหลายๆ คน เมื่อมีการแข่งขันในโอกาสต่างๆ ย่อมเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายและนันทนาการ สนุกสนานไปด้วยกัน มวยไทยสำคัญต่อประเทศชาติโดยประเทศไทยได้ใช้วิชามวยไทยปกป้องการรุกรานจากชาติอื่นๆ พระเจ้าตากสินและทหารกล้าใช้วิชามวยไทยกอบกู้ราชบัลลังก์จากพม่า ประชาชนทั้งชายและหญิง ต้องฝึกหัดจนชำนาญ เพื่อใช้ในการต่อสู้กับข้าศึกผู้รุกราน จนกลายเป็นวิถีชีวิตของคนไทยซึ่งมีการสืบทอดมวยโบราณแต่ละสายตามท้องที่นั้น ๆ โดยมีสายสำคัญหลัก ๆ เช่น มวยท่าเสา (ภาคเหนือ) มวยโคราช (ภาคอีสาน) มวยไชยา (ภาคใต้) มวยลพบุรีและมวยพระนคร (ภาคกลาง) มีคำกล่าวไว้ว่า “หมัดหนักโคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา ไวกว่าท่าเสา” มวยไทยจึงเป็นมรดกของชาวโลกที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย ช่วยทำให้ชาติมั่นคงความมั่นคงทางวัฒนธรรมนี้เป็นความมั่นคงของชาติโดยเฉพาะด้านเอกลักษณ์ไทยถือว่าเป็นทุนทางสังคมร่วมกันที่หล่อหลอมบุคลิกภาพรวมใจของคนไทยให้เข้ามาอยู่ด้วยกัน มวยไทยจึงจัดเป็นสื่อในการสร้างทุนทางสังคมวัฒนธรรมได้อย่างยั่งยืนอีกด้วย(สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 2540) และปัจจุบันมวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ที่ผู้คนทั่วโลกให้การสนใจและฝึกฝน จนกระทรวงวัฒนธรรม ได้ขึ้นทะเบียนมวยไทย เป็นมรดกภูมิปัญญาของชาติ ในสาขาวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2553 นอกจากเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่าที่ช่วยให้ผู้ฝึกมีระเบียบวินัยในตนเอง มีน้ำใจนักกีฬา มีความมานะอดทน และมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดี ซึ่งวัยเด็กเป็นวัยกำลังเจริญเติบโต การดูแลควรให้เด็กได้รับอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับวัย จึงจะเป็นสิ่งสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้ดียิ่งขึ้น แต่การที่จะให้เด็กพัฒนาได้เต็มศักยภาพจริงเด็กต้องมีการบริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งโดยลักษณะอุปนิสัยทางธรรมชาติของเด็กมักมีความซุกซน และยิ่งเป็นระยะที่เด็กมีพัฒนาการในอัตราเร่งสูง เด็กจะชอบเล่นในสิ่งที่ต้องใช้กำลัง เช่น กระโดดโลดเต้น กอดปล้ำกัน เล่นชกต่อย กัน เล่นวิ่งไล่จับกัน เป็นต้น จนบางครั้งผู้ใหญ่เป็นห่วงเกรงว่าเด็กเจ็บป่วยเนื่องจากเล่นเหนื่อยมาก จึงห้ามเด็กเล่นในสิ่งที่ต้องใช้กำลัง แต่แท้ที่จริงการเล่นออกกำลังกายเป็นประโยชน์และเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เด็กพัฒนาการสมส่วนตามวัยได้เต็ม ศักยภาพ
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะผู้จัดทำโครงการจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายในวัยเด็กและต้องการที่จะอนุรักษ์ศิลปะการต่อสู้ประจำชาติ จึงได้นำการออกกำลังกายแบบคีตะมวยไทยซึ่งเป็นกิจกรรมที่ผสมผสานระหว่างการเต้นแอโรบิคกับกีฬามวยไทย มาเป็นรูปแบบที่ใช้ในการจัดกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดสีบัวทองซึ่งเป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยมีการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนวัดสีบัวทอง
  2. เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสืบสานศิลปะการต่อสู้ประจำชาติให้นักเรียนโรงเรียนวัดสีบัวทอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับคีตะมวยไทย
  2. ทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1
  3. การออกกำลังกายด้วยคีตะมวยไทย
  4. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี) 162
วัยรุ่น (13-15 ปี) 68
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนวัดสีบัวทอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกิจกรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-มัธยมศึกษาปีที่ 3
50.00 230.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้าร่วมมีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
100.00 230.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสืบสานศิลปะการต่อสู้ประจำชาติให้นักเรียนโรงเรียนวัดสีบัวทอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนในโรงเรียนวัดสีบัวทองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะการต่อสู้ประจำชาติ
40.00 230.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 230
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) 162
วัยรุ่น (13-15 ปี) 68
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนวัดสีบัวทอง (2) เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสืบสานศิลปะการต่อสู้ประจำชาติให้นักเรียนโรงเรียนวัดสีบัวทอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับคีตะมวยไทย (2) ทดสอบสมรรถภาพทางกายครั้งที่ 1 (3) การออกกำลังกายด้วยคีตะมวยไทย (4) ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เตะหน่อย ต่อยนิด ฟิตนาน กับคีตะมวยไทยโรงเรียนวัดสีบัวทอง จังหวัด อ่างทอง

รหัสโครงการ 61-ก.08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย ศิริพจน์ สุขเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด