PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ


“ โยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นาง อารี สุขมาก

ชื่อโครงการ โยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-ต.04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 16 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-ต.04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 16 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก สำนักงานแผนงานส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ อันเนื่องมาจากการบริโภคอาหาร โดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ด้วยโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณะสุข เป็นกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การเลือกซื้ออาหารปลอดสารพิษ การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และการมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพ จึงเป็นเรื่องสำคัญหากได้ปลูกฝังและเสริมสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ จะทำให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ ตลอดจนแนวทางการควบคุมและป้องกันโรคที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อภาวะสุขภาพของเด็กและเยาวชน โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมควบคุมโรคด้วย ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กนักเรียนจึงจำเป็นต้องเตรียมความพร้อม ให้กับเด็กนักเรียนให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ ให้สามารถช่วยเหลือตัวเอง และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้เป็นปกติสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินกิจกรรม
  2. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมทางกาย ตามโครงการโยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน ให้คณะครูและนักเรียนแกนนำ
  3. นักเรียนเข้าร่วมโครงการ และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
  4. ฝึกออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
  5. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ให้แก่นักเรียนบริโภคในโครงการอาหารกลางวัน เพื่อลดน้ำหนักนักเรียน
  6. ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่่ 1
  7. ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 80
วัยเรียน (6-12 ปี) 100
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • เพื่อให้สุขภาพอนามัยที่ดีและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ การดูแลสุขภาพของตนเองอย่างถูกต้องตามหลัก 3 อ คือ อาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกายแก่นักเรียน
  • ฝึกกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือทำ และได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่นักเรียนได้กระทำลงไป (Active Learning) นักเรียนรู้ถึงประโยชน์ของผัก และผลไม้ สามารถนำไปปรับใช้ในการบริโภคอาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อสุขภาพได้
  • นักเรียนเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย สร้างจิตสำนึกที่ดี
  • นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินกิจกรรม

วันที่ 2 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม
  2. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรม
  3. ติดต่อประสานงานผู้ที่มีส่วนร่วม และเกี่ยวข้อง
  4. มอบหมายงาน แบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต - คณะทำงาน ผู้อำนวยการโรงเรียน ตัวแทนครูเข้าประชุมทุกคน ทำความเข้าใจร่วมกัน ผลลัพธ์ - คณะทำงาน ผู้อำนวยการโรงเรียน ตัวแทนครู มีความเข้าใจถึงลักษณะของโครงการ และทำหน้าที่ของตัวเองได้อย่างครบถ้วน

 

10 0

2. ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่่ 1

วันที่ 5 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จ้างวิทยากรในการดำเนินการทดสอบสมรรภาพทางกายนักเรียน จำนวน 100 คน  นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นรายบุคล     - สัดส่วนของร่างกาย     - ความอ่อนตัว     - ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ     - ความอดทนระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
  2. ส่งเสริมให้เยาวชนได้ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และมีสมรรภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนทราบถึงสมรรถภาพทางกายของตนเองเป็นพื้นผบานในการออกกำลังกาย

 

100 0

3. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ให้แก่นักเรียนบริโภคในโครงการอาหารกลางวัน เพื่อลดน้ำหนักนักเรียน

วันที่ 29 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้สุขภาพอนามัยที่ดีและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ การดูแลสุขภาพของตนเองอย่างถูกต้องตามหลัก 3 อ คือ อาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกายแก่นักเรียน บูรณาการในกลุ่มสาระวิชการงานอาชีพ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ปลูกเอง กินเอง 1. ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ นักเรียนช่วยกันเพาะต้นอ่อนของผักในฟองน้ำเพื่อรอลงแผ่นโฟม นำไปปลูกในโรงเรือน ดูแลระบบการหมุนเวียนของน้ำและใส่ปุ๋ย 2. ปลูกผักสวนครัว นักเรียนช่วยกันนำดินในท่อ และภาชนะที่ใช้ปลูก ลงผัก ช่วยกันรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืช 3. ปลูกผักกางมุ้ง นักเรียนช่วยกันยกร่องผักนำพันธ์ุผักหวานลงแปลง บางชนิดเอาต้นกล้ามาลง ช่วยกันพรวนดินใส่ปุ๋ยรดน้ำจนเจริญเติบโต 4. เพาะเห็ด ซื้อก้อนเห็ดมาเพาะในเรือนเพาะเห็น ช่วยกันรดน้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนรู้ถึงประโยชน์ของผัก สามารถทำแปลงเกษตรเองรู้ขั้นตอนการเพาะปลูก ดูแล เก็บผลผลิต นักเรียนรับประทานผักที่ปลูกกินเอง สามารถลดพุงได้

 

100 0

4. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมทางกาย ตามโครงการโยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน ให้คณะครูและนักเรียนแกนนำ

วันที่ 13 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดกิจกรรมทางกาย ตามโครงการโยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน ดังนี้
  2. หลักการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
  3. การบริโภคอาหารกับการลดน้ำหนัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะครู นักเรียนแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักกการออกกำลังกาย และการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ และการลดน้ำหนัก
  2. ครูและนักเรียนแกนนำมีทักษะในการถ่ายทอดความรู้และกิจกรรมทางกาย

 

100 0

5. นักเรียนเข้าร่วมโครงการ และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า

วันที่ 19 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
  2. นักเรียนเล็งเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย
  3. นักเรียนสามารถออกกำลังได้ถูกวิธี สนุกเพลิดเพลินในการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนได้เข้าร่วมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า เพื่อพัฒนาสมรรภาพทางกายของตนเอง
  2. ครูและนักเรียนได้ฝึกการเป็นผู้นำการออกกำลังกาย
  3. ค่าดัชนีมวลกายลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ นักเรียนน้ำหนักลดลง

 

100 0

6. ฝึกออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า

วันที่ 26 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดซื้อผ้าขาวม้าให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการครบทั้ง 100 คน
  2. นักเรียนทุกคนนำผ้าขาวม้ามาทุกเช้า เพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
  3. นักเรียนสามารถออกกำลังกายได้อย่างถูกวิธี และมีความสุขในการได้ออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนทราบถึงสมรรถภาพทางกายของตนเองเป็นพื้นฐานในการออกกำลังกาย
  2. นักเรียนทราบถึงสมรรถภาพของตนเองหลังการออกกำลังกาย
  3. นักเรียนออกกำลังกายได้ถูกวิธี และมีความสุขในการออกกำลังกายทุกวัน
  4. นักเรียนทุกคนที่เข้าร่วมโครงการมีผ้าขาวม้าพร้อมในการออกกำลังกายในแต่ละวัน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
70.00 80.00

 

2 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
60.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 80
วัยเรียน (6-12 ปี) 100
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 0
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินกิจกรรม (2) จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง การจัดกิจกรรมทางกาย ตามโครงการโยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน ให้คณะครูและนักเรียนแกนนำ (3) นักเรียนเข้าร่วมโครงการ และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า (4) ฝึกออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า (5) กิจกรรมปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ให้แก่นักเรียนบริโภคในโครงการอาหารกลางวัน เพื่อลดน้ำหนักนักเรียน (6) ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่่ 1 (7) ทดสอบสมรรภาพทางกาย ครั้งที่่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โยกย้ายส่ายกายา ด้วยผ้าขาวม้า เพาะปัญญาพาเพลิน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-ต.04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาง อารี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด