โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการส่งเสริมให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
วันที่ 17 ก.ย. 62 - 19 ก.ย. 2562 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ
ณ โรงแรมเซนทรา บาย เซ็นทารา ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
วันที่ 17 กันยายน 2562 - สรุปการประชุมที่ผ่านมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ - แนวทางการจัดทำแผน โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ - ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนในระบบออนไลน์ โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร ดร.เพ็ญ สุขมาก และ ดร.ซอฟียะห์ นิมะ อาจารย์สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์
วันที่ 18 กันยายน 2562
- แนวทางการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์
- การพัฒนาศักยภาพและออกแบบแนวทางการดำเนินโครงการในพื้นที่ประเด็นกิจกรรมทางกาย และฝึกปฏิบัติการในระบบออนไลน์
โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร อาจารย์สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์
วันที่ 19 กันยายน 2562
พี่เลี้ยงนำเสนอแผนและโครงการที่ฝึกปฏิบัติการคีย์ข้อมูลในระบบออนไลน์
และให้ข้อเสนอแนะแนวทางปฏิบัติงานครั้งต่อไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์
ภารกิจ
1. ทำแผนกองทุนแต่ละด้าน
2. พัฒนาโครงการเพื่อการสนับสนุน จากกรรมการตำบล . ผู้รับผิดชอบ > กรรมการ
เรื่องกิจกรรมทางกาย
อ.กุลทัต
: พูดถึงความหมาย กิจกรรมทางกาย
: แนะนำกิจกรรมทางกายของโรงเรียน เช่น ที่โรงเรียน
- การเดินทาง
- นันทนาการ และการออกกำลังกาย
กิจกรรมที่เพียงพอ
1. ความหนักเบา
2. ระยะเวลา
ออกแรงมาก 75 นาที /
ความเข้าใจผิด เรื่องกิจกรรมทางกาย
สิ่งที่ต้องเติมในวัยเด็ก/
ผู้สูงอายุ ระวังเรื่องของการทรงตัว ไทเกก การย่อ ป้องกันการกล้มลงไปที่แผนโครงการ :
อ.พงค์เทพแนะนำเว็บกองทุนตำบล
แนะนำสรุปสถานการ์ตามแผน
- แนะนำแผนอาหาร กิจกรรมทางกาย
สถานการณ์ ร้อยละ 20 > 80 คน
กลุ่มเป้าหมายเด็กวัยเรียน
อ.พงค์เทพ แนะนำแผน
การทำแผน > พัฒนาโครงการ
หน้าพัฒนาโครงการ
1. ใส่ชื่อโครงการ องค์กร กลุ่มคน สถานที่ ความสอดคล้องของแผน > คลิกตรงไหนขึ้นสถานการณ์นั้นทันที เช่น คลิก PA ก็จะขึ้นสถานการณ์ PA ถ้าไม่คลิกเลยต้องกรอกเอง สถานการณ์ ขนาดจะไม่เหมือนกัน / แผนทั้งตำบล กับ ขนาดของโครงการไม่เหมือนกัน ขนาดคนละพื้นที่กัน ตัววัตถุประสงค์ก็จะล้อมาจากสถานการณ์
การทำแผนโครงการ
Outsoure + SDH : ถ้าโครงการจะบรรลุสำเร็จ “สร้างเสริมสุขภาวะ”
คน > เก่งขึ้น>>>>>>>>>>>>>>> รู้
สภาพแวดล้อม > เอื้อต่อการแก้ปัญหา >>>>> กติกา
กลไก/ระบบ > คน/กลุ่ม เกาะติด >>>>>> คนคุมกฎ
ยกตัวอย่าง
บ้านเหล่า ปั่นจักรยานทุกวันพระ เริ่มจากเจ้าอาวาสมาเทศน์ออกกำลังกายปิ่นโต ปั่นจักรยานเพื่อเพิ่ม PA / เอาปิ่นโตมา / กลุ่มเครือข่าย
ทำ 3 เรื่อง คน สภาพแวดล้อมกลไก
ถ้าทำแผน > 1. อยู่ไหน 2. จะไปไหน 3. ไปอย่างไร ไปถึงแล้วยัง
ทำโครงการ > คน สภาพแวดล้อม กลไก
หลักคิด
1. ภาพใหญ่มอง 3 กรอบ
กรอบ 1 ทำให้คนในกระบวนการกองทุนคิดได้ทำเป็น
กระบวนการทำแผนเติมให้กองทุน / กรอบแรกเน้นกระบวนการตั้งแต่เลือกประเด็นตัวโจทย์ กระบวนการทำแผนนี้ให้ชัด
เช่น วิธีการเลือกประเด็นทั้งนโยบาย พชอ.จังหวัดกระทรวง ภาพอนาคตต่างๆ
ภาพรวมให้กระบวนการสำคัญในการทำแผน / คิดอะไรไม่ออกเปิดโปรแกรม
เติมกระบวนการรับฟังความคิดเห็น ให้ประชาชนมีส่วนร่วม กรอบที่ 2 พัฒนาแผนและดึงมาคีย์ข้อมูลมีการประชุม