PA Thailand (Physical Activity Thailand)

directions_run

โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการส่งเสริมให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

ประชุมพี่เลี้ยงกองทุน 12 เขต ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี10 สิงหาคม 2562
10
สิงหาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมพี่เลี้ยงกองทุนพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (พี่เลี้ยงกองทุน 12 เขต)
ณ โรงแรมริชมอนด์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประเด็นการประชุม 1. ชี้แจงความเป็นมาวัตถุประสงค์ และเป้าหมายการทำงานบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที 2. หารือบทบาทและวางแผนการทำงานของคณะทำงานวิชาการ 3. แนวทางการพัฒนาเครื่องมือ เพื่อการพัฒนาโครงการ และการติดตามผลโครงการ

สรุปผลดังนี้
โจทย์: กลไกพี่เลี้ยงวางแผนอย่างไร และจะมีแนวทางต่อไปนี้อย่างไร
1. ทำความเข้าใจกับ CEO ของ สปสช./สธ./สสส. 2. ทำความเข้าใจกับ พชอ.  >  ส่วนกลาง           > พื้นที่
3. พัฒนาศักยภาพการทำแผน > กรรมการกองทุน / ผู้รับผิดชอบกองทุน
4. พัฒนาโครงการ > ผู้รับผิดชอบกองทุน     ผู้เสนอโครงการ
5. ติดตามประเมินผล > โดยผู้รับผิดชอบกองทุน

กลุ่มเป้าหมาย
1. จังหวัดละ 1 พชอ. เกณฑ์การคัดเลือก
1) พชอ.เข้มแข็ง
2)  ท้องถิ่น/กองทุนเข้มแข็ง (กรรมการกองทุน / ผู้รับผิดชอบกองทุน) 3)  พี่เลี้ยงเข้มแข็ง : เครือข่ายปฐมภูมิ (Coaching team) 2. ตำบลที่ถ่ายโอนภารกิจ 51 แห่ง

เป้าหมาย : 76 พชอ. + 51 กองทุน
- มีแผน - มีโครงการ - มีการติดตามประเมินผล
แลกเปลี่ยนจากโจทย์ การวางแผนกลไกพี่เลี้ยงวางแผนอย่างไร และจะมีแนวทางต่อไปนี้อย่างไร

ภาคเหนือ เขต 1, 2, 3
กลไกระดับเขต
ประกอบด้วย สช. / สปสช. / กขป. / ภาคประชาชน
บทบาท 1. คัดเลือกพื้นที่ 2. จัดทำแผนปฏิบัติการ/งบประมาณ 3. ประสานงานจังหวัด / อำเภอ
4. พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง จังหวัด/อำเภอ - การพัฒนาแผน/โครงการกองทุน - การจัดทำแผน/โครงการ/การติดตามประเมินผล โดยใช้โปรแกรมกองทุนฯ 5. การหนุนเสริม ติดตาม และเสริมศักยภาพ ทีมพี่เลี้ยงจังหวัด
6. การสรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับเขต
กลไกระดับจังหวัด/พชอ.
ประกอบด้วย สสจ./ สสอ./ รพช./ นักวิชาการ / coaching
กองทุนฯ / ภาคประชาสังคม ฯลฯ
เป็นไปตามบริบทของจังหวัด / อำเภอเป้าหมาย
- ให้บทบาทจังหวัดสามารถเคลื่อนงานได้ ภายใต้งบประมาณที่มีอยู่ - ดึงนักวิชาการมาเป็นวิทยากรสื่อสาร
- ใช้ IT บทบาทพี่เลี้ยงจังหวัด 1. คัดเลือกทีม/พื้นที่กองทุน
2. จัดทำแผนปฏิบัติการ / งบประมาณ 3. พัฒนาศักยภาพทีมกองทุนฯ   - ประธานกองทุนฯ   - กรรมการ / ผู้รับผิดชอบกองทุน / ผู้จัดทำข้อมูลกองทุน
  - รพสต.   - ภาคประชาสังคม
4. หนุนเสริม ติดตามและประเมินผลระดับกองทุนฯ การ Coaching ทีมกองทุนฯ -  การจัดทำแผนกองทุนฯ - การจัดทำโครงการกองทุน/การติดตาม ประเมินผล - การใช้เครื่องมือ online
ภาคกลาง เขต 4, 5, 6

โครงสร้างกลไกการทำงาน
1) ตั้งทีมระดับเขต: ตัวแทนแต่ละจังหวัด 16 คน จังหวัดละ 2 คน 2) ขับเคลื่อนระดับพื้นที่ : ตั้งคณะกรรมการจังหวัดอำเภอ
3) จุดเน้น พชอ.กำหนดไว้

ภาคอีสาน เขต 7, 8, 9, 10

กลไกพี่เลี้ยงภาคอีสาน
ระดับเขต
1. การกำกับงาน สสจ.รับรู้ เขตรับทราบ
2. มีหนังสือสั่งการ CSO รับเรื่องไปเสอต่อ
3. พชอ. + กองทุนตำบล ส่งตัวแทนมาเป็นพี่เลี้ยงร่วม การสร้างจุดเชื่อมโยงในการทำงาน (สสอ.)

พื้นที่เป็นตัวตั้ง เป็นคนในพื้นที่
- สปสช. - สาธารณสุข - ตัวแทน พชอ. - ฝ่ายสาธารณสุข (ผอ.กอง)+ ท้องถิ่น
ภารกิจ 3 ส่วน
1. พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงไปทำต่อ
2. พชอ. 3 กองทุน

แนวทาง 1. ผู้รับผิดชอบหลัก / ทีม
2. ช่องทางการเชื่อมประสานในพื้นที่
3. การบริหารงบประมาณโครงการ 4. ประสิทธิภาพของเครื่องมือในการพัฒนาแผนและโครงการ (เว็บไซต์/โปรแกรม) > ลดภาระงานประจำ
5. การออกแบบกระบวนการ การดำเนินงานร่วมกัน
6. การเตรียมข้อมูลสถานการณ์ปัญหา
7. Authority ของ พชอ. และ กองทุนในการดำเนินงานตามบทบาทของตัวเอง
8. เจ้าภาพ/ผู้รับผิดชอบโครงการตามประเด็นปัญหาตามแผนงาน รูปแบบ การ workshop หาพื้นที่ร่วม/แผนที่ดีโครงการที่ดี ระบบการติดตาม 9. นิยามการมีแผนที่ดี / โครงการที่ดี

ภาคใต้ เขต 11, 12

ทบทวนผลงาน 61
เขต 11 สฎ = นาสาร+ สวี + 6 อำเภอ + ตำบลจัดการตนเอง เขต 12 สงขลา = ละงู (หลากหลาย) > สตูล = ยะลา > หลากหลาย = สงขลา > จะนะ
= นราธิวาส > เมือง (หลากหลาย) = ปัตตานี

วิธีการทำงาน
1) พัฒนาศักยภาพ (ปรับ Mindset) - วิธีการทำงาน การใช้ระบบ online
- ความเข้าใจโครงการ
- การส่งเสริมสุขภาพ
2) ลงทำแผนกองทุนตำบล การทำงานให้พี่เลี้ยงนำร่อง รพสต. – สสอ.-ท้องถิ่น-ภาคประชาชน - online (Zoom)
- เวทีทำแผน (ใช้งบ 10(7) กองทุน) / 5 ประเด็น + ประเด็น พชอ.
3) ออกแบบ/ติดตามโครงการ การออกแบบโครงการ 2 ครั้ง / อนุมัติเงินให้กองทุนไปทำ 4) ติดตามประเมินผล (2 ครั้ง) สปสช.อนุมัติเงิน /โครงการทำกิจกรรม 6-8 เดือน
เสริมการฝึกการติดตามประเมินผล
- ฝึกการประเมินโครงการ - ผู้รับทุนเขียนอย่างไรให้เกิดคุณค่าโครงการ