ประชุมหาแนวทางความร่วมมือระดับนโยบาย ระหว่างหน่วยงาน และแลกเปลี่ยนข้อเสนอโครงการบูรณาการ ณ ห้องประชุมจามจุรี 2 ชั้น M โรงแรมปทุมวันปริ้นเซส
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
1. แนวทางความร่วมมือระดับนโยบาย ระหว่างหน่วยงาน
2. แลกเปลี่ยนข้อเสนอโครงการบูรณาการ
สรุปประเด็น
สสส. สปสช. สธ. ร่วมมือกันทำโครงการนี้
1. เพิ่มภาคประชาชนเข้ามาร่วมขอโครงการ มีบาง รพสต. ที่ถ่ายโอนไปท้องถิ่นอยู่แล้ว เลือก รพสต.ที่มีคุณภาพ มีความพร้อมขึ้นมา/ Output outcome ที่จะส่งให้ภาคประชาชนคืออะไร / บางส่วนใน พชอ.มี ngo เป็นส่วนประกอบ
2. ประเด็นการดำเนินงานตอนนี้มี 8 ประเด็น ชวนโฟกัส หารือ ประเด็น
1) ปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด
2) โรคเรื้อรัง PA อาหาร ฯลฯ
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. ทีมวิชาการ พัฒนาคู่มือ เครื่องมือ
- การทำแผน
- การพัฒนาโครงการ
- การติดตามประเมินผล
ตามประเด็นสุขภาพ
2. พัฒนาการเชื่อมต่อระบบข้อมูล – กระทรวง- สปสช.
3. การพัฒนากลไกพี่เลี้ยง
1) พี่เลี้ยงระดับเขต
2) พี่เลี้ยงระดับพื้นที่
4. การทำแผนสุขภาพกองทุน
5. การพัฒนาโครงการตามแผน
6. การติดตามประเมินผลหลังจากโครงการ
โครงการที่มีคุณภาพ
- เราต้องการโมเดลให้ชุมชนมีการขยับกาย
- มีโครงการตัวอย่างที่ออกจากแผนจากโครงการเดิมๆ
- แผนสุขภาพ
- พื้นที่ส่วนใหญ่มองที่กิจกรรมมากกว่าผลลัพธ์ที่จะได้ (แก้ปัญหา NCD สุขภาพดี แข็งแรง) ทำอย่าไงให้พื้นที่เล็งเห็นประเด็นนี้
- พชอ. เชื่อมโยง กองทุนตำบล ตำบลจัดการคุณภาพชีวิต แผนท้องถิ่น
- ดึงภาคี ครู ข ของอสม.4.0 มีอำเภอละ 5 คน ทำงานคุณภาพชีวิต และขอรายชื่อคุณชัยณรงค์
- สรุปโครงการที่ดีไม่ใช่กิจกรรม Event PA เน้นโครงการตัวอย่างคุณภาพ ที่ตอบยุทธศาสตร์ได้จริง
- ลงรายละเอียดการพัฒนาโครงการ ทีมวิชาการช่วยทำข้อมูลงบที่จะใช้
- การสนับสนุนการติดตามที่หลากหลายรูปแบบ กระบวนการอื่นในการติดตาม นอกจากออนไลน์
- ปรับมามองที่ผลลัพธ์โครงการ outcome บันไดผลลัพธ์ พยายามมองผลลัพธ์มากขึ้น
- ปัญหา: มองกิจกรรมเป็นหลัก โจทย์: ในพื้นที่มองผลลัพธ์ในพื้นที่