PA Thailand (Physical Activity Thailand)

โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการส่งเสริมให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

ประชุมวางแผนการทำงาน PA และถอดบทเรียนที่ผ่านมา8 มกราคม 2561
8
มกราคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมวางแผนการทำงาน PA และถอดบทเรียนที่ผ่านมา ในวันที่ 8 มกราคม 2562 ณ ห้องประชุม โรงแรมดวงตะวัน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คำถามแลกเปลี่ยน
1. สถานการณ์และการกรอกข้อมูลในโปรแกรม
2. การประสานพี่เลี้ยงทำอย่างไรในพื้นที่ 3. ข้อเสนอเพิ่มเติม

  1. สถานการณ์และการกรอกข้อมูลในโปรแกรม

จุดแข็ง
1. โปรแกรมดีต่อสถานการณ์ /ปัจจัยแวดล้อม / แผนแต่ละแผนเอาสถานการณ์ทั้งหมดไปใช้ 2. โปรแกรมใช้รายละเอียดเยอะพอสมควร / ตรงวิธีการ / สามารถเรียบเรียงข้อมูลได้ 3. การใช้โปรแกรมเป็นการกระตุ้นการกรอกข้อมูล 4. โปรแกรมสามารถนำไปใช้หลายๆ หน่วยงาน 5. ปีที่ผ่านมาเน้นเรื่องโปรแกรม / อบรมแกนหลัก 6. โครงการ สามารถออนไลน์ได้หลายส่วน ทั้ง PA กิจกรรมทางกาย อาหาร ปัจจัยเสี่ยง 7. การปฏิบัติ ทำงานประสานพี่เลี้ยง ใช้ตัวโปรแกรมเป็นตัวติดตาม พี่เลี้ยงเขต + พี่เลี้ยงพื้นที่ ติวเข้มโปรแกรม

ข้อจำกัด
1. ข้อมูลพื้นที่ไม่มีสถานการณ์ 2. ข้อมูลสถานการณ์ไม่ละเอียด 3. งาน รพสต.เยอะมาก แต่เอามาช่วยคิด ช่วยเขียนข้อมูลได้ 4. ระบบเว็บไซต์ ยังไม่ถึงพื้นที่ ทำไม่เป็น 5. โปรแกรมมีความซับซ้อน
6. โปรแกรมยังไม่นิ่ง 7. รหัสพี่เลี้ยงแก้ไขไม่ได้ 8. เป้าหมาย โปรแกรมพอเสถียรเรียนรู้ง่าย / แต่ยากคือการดึงข้อมูลไปใช้ 9. บางส่วนใช้โมดูลไม่ครบ แผน > พัฒนา > ติดตาม > ออกบัญชี 10. เรื่องโปรแกรม สปสช.กับที่เราสร้างซ้ำซ้อนอยู่

แนวทาง
1. เพิ่มเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล คนคีย์ข้อมูล คือ คนทำงานในกองทุนตำบล 2. เสนอเมนูสำเร็จรูป (คล้ายๆเมนู สน.6, บันไดผลลัพธ์) 3. เว็บให้สามารถใส่งบประมาณแหล่งอื่นๆ ด้วย 4. การวิเคราะห์ใช้ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ ควรเทรนทีมงานให้เข้าใจมากกว่านี้ 5. ปัญหาการเก็บข้อมูลสถานการณ์ / พี่เลี้ยงเป็นภาระงานอยู่ ควรเทรนกลุ่มที่เก็บข้อมูล 6. สถานการณ์มี แต่ไม่ละเอียด เอามาจาก การสำรวจ และ จปฐ. 7. การใช้ประโยชน์ คนใช้โปรแกรม ถ้ามีประโยชน์ โปรแกรมจะถูกพัฒนาต่อยอด 8. คู่มือง่ายๆ อ่านแล้วเข้าใจใส่ข้อมูลทำบล็อกเดียวกัน
2. การประสานพี่เลี้ยงทำอย่างไรในพื้นที่

จุดแข็ง
1. กระบวนการพัฒนาโครงการเข้าถึงกองทุนจริงๆ ที่ปฏิบัติ
2. พี่เลี้ยงกลไกกลางสามารถนำองค์ความรู้ไปสู่ความชัดเจนของโครงการมากขึ้น 3. พชอ.เป็นการรวมตัวของผู้เชี่ยวชาญที่หลากหลายมีประสบการณ์ 4. ยึดอำเภอเป็นตัวตั้ง /ทีม work ในอำเภอเป็นตัวตั้ง ให้ทีมพี่เลี้ยงบริหารจัดการ 5. พี่เลี้ยงมีบารมีเป็นที่เชื่อถือของพื้นที่ ทำให้สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในพื้นที่ด้วยความสมัครใจ

แนวทาง 1. กลไกกลางควรมีประสิทธิภาพ 2. ดึงสาธารณสุขอำเภอมาทำงานเป็นหัวใจสำคัญ / สาธารสุขอำเภอ เรื่องต้องผ่านจังหวัด 3. ควรมีพี่เลี้ยงเป็น พชอ. 4. เงื่อนไขเวลาให้กระชับ 5. ประสานอำเภอ นายอำเภอ ทำข้อมูลแผ่นท้องถิ่น 6. การนัดพี่เลี้ยงมาคุยกัน การพบปะพี่เลี้ยง /นัดเจอกันเดือนละครั้งจะดี 7. พื้นที่เก่า ให้เขามานำเสนอเป็นพื้นที่ต้นแบบ 8. การเลือกพื้นที่ โฟกัสไปที่ผู้ประสานเขต > เลือกผู้แทนของ สปสช.ก่อน > การประสานคนที่รู้จักคุ้นเคยทำงาน > เลือกแกนพี่เลี้ยงเขต > เลือกบุคคลเป็นแกน อำเภอไหนมีความพร้อมอิสระในการเลือกพื้นที่ แต่ละจังหวัด พชอ.ทำเต็มพื้นที่อยู่แล้ว นโยบายเต็มพื้นที่