- ชมนิทรรศการ : ลานกิจกรรม
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานของพี่เลี้ยงจังหวัด
- สรุปบทเรียนการดำเนินงานของพี่เลี้ยงกองทุน
แลกเปลี่ยนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนหลังรับงานโครงการกิจกรรมทางกาย เช่น เดินเพิ่มขึ้นในช่วงเวลาทางาน เช่น เดินไปทางาน เดินไปเข้าห้องน้าทุก 1-2 ชั่วโมงเพื่อให้เกิดกิจกรรมทางกาย การเปลี่ยนแปลงที่พบคือ น้าหนักลดลง 5 กิโลกรัม วิทยากรตั้งคาถามให้กับผู้เข้าประชุม - กิจกรรมทางกายที่พอเพียงคืออะไร - ผู้เข้าร่วมคนใดที่มีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดัน กิจกรรมทางกายที่พอเพียง คือ กิจกรรมที่มีความพอเพียงด้านออกแรงและระยะเวลาในการออก เช่น เด็กควรมีกิจกรรมทางกายมากกว่า 60 นาทีต่อวัน ผู้สูงอายุควรมีกิจกรรมทางกายมากกว่า 150 ครั้งต่อสัปดาห์ กิจกรรมทางกายมีประโยชน์ในการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือด
การแลกเปลี่ยนบทเรียนPA ในท้องถิ่น ผู้ดาเนินรายการคือ อาจารย์ ธวัชชัย เคหบาล ชี้แจงวัตถุประสงค์การเสวนา เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดาเนินการโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ เข้ามาร่วมแลกเปลี่ยน ภาคีที่มาเข้าร่วมประกอบด้วย ตัวแทนเขตซึ่งมีประสบการณ์การทากิจกรรมทางกายในพื้นที่ คณะกรรมการกองทุน ตัวแทนจากท้องถิ่น ท้องที่ รพ.สต. ตัวแทนภาคชุมชน ทุกคนเป็นผู้ปฏิบัติการในพื้นที่ โดยมีผู้แทน 4 เขตสุขภาพร่วมดาเนินการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วย - ตัวแทนเขต 7 คุณเอมอร ชนะบุตร ตัวแทนภาคประชาชน ประธานอสม.ทุ่งคลองตัวแทนประกันสุขภาพเทศบาลคาม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ - ตัวแทนเขต 8 คุณจุไรรัตน์ เผ่าพันธุ์ รพ.สต. คาด้วง จังหวัดอุดรธานี - ตัวแทนเขต 9 คุณสุพรรณ ชูชื่น ผอ.รพ.สต บ้านโคกมั่งงอย ชัยภูมิ คณะกรรมการกองทุนสุขภาพ ที่ปรึกษาศูนย์คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ และ นส.พรสุดา ต่อชีพ ผอ.กองสธ. - ตัวแทนเขต 10 รัตนา สาธุภาพ นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต.กุดตระกร้า ตาบลสร้างก่อ จังหวัดอุบลราชธานี