แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 | 21 ส.ค. 2561 | 21 ส.ค. 2561 |
|
ประเด็นประชุม 1. วางแผนเรื่อง คลินิกพัฒนาโครงการ 2. วางแผนเรื่อง การพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 3. วางแผนเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ประเด็น การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น |
|
1.วางแผนเรื่องคลินิกพัฒนาโครงการ - การประชุมทีมคณะทำงานวิชาการแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สสส. : ปฏิบัติตามแผน
- พัฒนาคู่มือการพัฒนาโครงการ และการติดตาม และประเมินผลโครงการ: นัดประชุมวางแผนการทำคู่มือ
- ปรับปรุงระบบ (เว็บไซต์ https://www.pathailand.com/) : นัดประชุมกับโปรแกรมเมอร์ เรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์
- ดำเนินการคลินิกพัฒนาโครงการL นัดคุยกับ สสส. เรื่องลักษณะโครงการที่จะดำเนินคลินิกพัฒนาโครงการ 3.วางแผนเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ประเด็น กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ - การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมติสมัชชา PA ดำเนินการตามแผนและมติสมัชชา - การประชุมเชิงปฏิบัติการกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สร้างพื้นที่ตัวอย่างที่ เทศบาลนครยะลา - การศึกษาความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ดำเนินการร่วมกับ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 4.การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ - นัดประชุมกับเครือข่ายสมัชชาจังหวัดภาคเหนือ กับภาคใต้ - ดูงานสร้างสุข สสส.ภาคเหนือ กับภาคอีสาน - นัดคุยกับอาจารย์ภารนีเรื่องจะขับเคลื่อนมติกับเครือข่ายสถาปนิค - ดำเนินการร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ |
|
ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 | 3 ก.ย. 2561 | 3 ก.ย. 2561 |
|
ประเด็นประชุมสำคัญ : ทบทวนแผน และคู่มือพัฒนาโครงการ 1. ปรับคู่มือพัฒนาโครงการ ให้สอดคล้องกับเว็บไซต์ 2. ดู Timeline โครงการปัจจัยเสี่ยง เพื่อวางแผนลงพื้นที่ / และทำ Time line PA 3. คุยกับพี่จอย ว่าจะนำวาระ PA เข้าไปในวาระอย่างไร 4. คุยกับ อ.จูน คณะเภสัช ให้พัฒนา proposal การศึกษาความคุ้มทุนของโครงการ PA |
|
ประชุมคณะทำงานวางแผนโครงการแผน PA ปี 2 วันที่ 3 กันยายน 2561 ณ ห้องอาจารย์ ชั้น 10 สจรส.มอ. เวลา 13.30 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุม - ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ - นายญัตติพงศ์ แก้วทอง 1.ปรับ “คู่มือพัฒนาโครงการ” ให้สอดคล้องกับ “เว็บไซต์” เว็บไซต์ PA / เว็บไซต์กองทุน - เอาเว็บไซต์เป็นตัวตั้ง - เอาคู่มือของ อ.กุลทัต มาปรับ การทำโครงการ - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง - วางจุดหมาย - วิธีการสำคัญ - กิจกรรมต่างๆ เขียนอย่างไร ให้ละเอียด - การแจกแจงงบประมาณอย่างไร - ประเมินผลอย่างไร 2.การพัฒนาคลินิกพัฒนาโครงการ พัฒนา : - กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น - สสส. อาจจะเป็นชุดโครงการ หรือ โครงการเปิดรับทั่วไป 3.คุยกับผู้ประสาน สสส. ว่าลักษณะโครงการเป็นอย่างไร - ถ้ามีกองทุนจะพัฒนาโครงการจะต้องทำอย่างไร จะใช้ระบบพี่เลี้ยง หรือ ใช้ระบบศูนย์ 4.กองทุนตำบล - ดูโครงการ Timeline อย่างไร / ทำอะไรในแต่ละเดือน ได้ลงพื้นที่พร้อมกัน และบูรณาการร่วมกัน 5.การขับเคลื่อนมติสมัชชา เรื่อง PA และบรรจุไปในงานสร้างสุข - ภาคเหนือ ขับเคลื่อนระดับเขต กขป. - ภาคใต้ - มีงานสร้างสุข เอาไปเป็นวาระงานสร้างสุข / สมัชชาสุขภาพ - เอาประเด็น PA เข้าไปเป็นวาระในมหกรรมสุขภาพของ สช. จะมีวิธีการทำอย่างไรได้บ้าง และเลือกพื้นที่บางพื้นที่เท่านั้น 6.งานเศรษฐศาสตร์ วิจัยกับ สวรส. ทำ Proposal ส่งให้กับ สวรส. - เอาคณะเภสัชมาทำเรื่องนี้ อ.จูน (คณะเภสัช) 7.เรื่องพื้นที่สุขภาวะ - กรรมการขับเคลื่อนสมัชชา - สมาคมสถาปนิกมาคุยด้วย / ประสานพี่จั่น (อ.ภารนี) |
|
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 | 5 ก.ย. 2561 | 5 ก.ย. 2561 |
|
ประชุมคณะทำงานวางแผนโครงการแผน PA ปี 2
ประเด็นประชุม |
|
ประชุมคณะทำงานวางแผนโครงการแผน PA ปี 2 ประเด็นประชุม 1. ปรับคู่มือพัฒนาโครงการ ให้สอดคล้องกับเว็บไซต์ PA 2. พัฒนา proposal ด้านเศรษฐศาสตร์ PA ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม ปรับ “คู่มือพัฒนาโครงการ” ให้สอดคล้องกับ “เว็บไซต์” เว็บไซต์ PA / เว็บไซต์กองทุน - เอาเว็บไซต์เป็นตัวตั้ง - ใช้คู่มือของ อ.กุลทัต มาปรับต่อยอด เพิ่มเติมการเขียนโครงการในคู่มือ 1. ต้องระบุสถานการณ์ 2. วิเคราะห์ปัจจัยอะไรที่มีผลต่อสถานการณ์นั้น 3. วางจุดหมาย เป้าหมาย 4. วิธีการสำคัญ 5. กิจกรรมต่างๆ ควรเขียนอย่างไร งบประมาณ แจกแจงงบประมาณอย่างไร 6. การประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ประเมิน อย่างไร แลกเปลี่ยนประเด็น - กรอบนี้ยังไม่พอ / เว็บ PA สสส. / โครงการของ PA / แนะนำการกรอกข้อมูล - ในเว็บตัวชี้วัดของแผน PA เพิ่มตัวชี้วัดของแผน PA ด้วย - ???? ตัวชี้วัด ของกองทุนที่ออกแบบตอนนี้ สามารถตอบตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ สสส.ไหม - การระบุสถานการณ์ตามหัวข้อควรมีอะไรบ้าง / มี 2 เรื่อง คือสถิติและผลกระทบ - ถ้าชุมชนใช้ Format ของกองทุนได้ พัฒนา proposal ด้านเศรษฐศาสตร์ PA มติข้อ 8. ขอให้สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เป็นหน่วยงานหลัก ร่วมกับหน่วยงานวิชาการอื่นๆศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการทางภาษีและมาตรการทางการเงิน รวมถึงองค์ความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น เพื่อเสนอต่อกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปพิจารณาดำเนินการ โดยมุ่งเน้นให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด TOR การศึกษาความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การศึกษาความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการศึกประโยชน์ทางตรงและประโยชน์ทางอ้อมต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของโครงการที่รับการสนับสนุนจากแผนกิจกรรมทางกายโดยการคิดมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย แลกเปลี่ยนประเด็น - Tor เรื่องความคุ้มทุนให้ทางอาจารย์เสนอ - ปัญหาคือยังไม่เคยมีการประเมินมาเลย - การประเมินตั้งแต่เริ่มต้นมี PA หรือไม่ / หรือประเมิน PA ตั้งแต่ต้น / - นัดประชุมอีกครั้ง 20 กันยายน 2561 - ประสาน สวรส. การขับเคลื่อน PA เขาจะสโคปงานไหม หรือให้เราส่งไป มติ 8 ในตอนนั้นจะมีมาตาการทางภาษีและมาตรการทางการเงินด้วย |
|
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 | 9 ก.ย. 2561 | 9 ก.ย. 2561 |
|
ประชุมคณะทำงาน วางแผนงานประเด็น คู่มือพัฒนาโครงการ เว็บไซต์โครงการ |
|
1.คู่มือ กำลังทำ นัดคุยกันแล้ว 17 กันยายน 2561 ปรับให้สอดคล้องกับเว็บไซต์ วิธีการ ดูเว็บไซต์ไปดูกองทุนที่กรอกอย่างไรบ้าง 2.เว็บโครงการ / ควรระบุชื่อชุมชน / เป็นเรื่องการออกกำลังกาย ปัญหาใหญ่ คือ ทำโครงการ PA แต่ชื่อโครงการเป็นออกกำลังกาย / เราไปเทรนพี่เลี้ยง ยังไม่เข้าใจ PA - ทำไงให้คนเข้าใจ PA ลองนึกถึงแผนงานเรา ตามการขับเคลื่อนมติสมัชชาด้วย ทำให้เขาเข้าใจเรื่อง PA ตาม มติสมัชชา เราทำงานเครือข่าย สมัชชาเครือข่าย สช. เครือข่าย 3.วิธีการที่จะทำให้เขาเข้าใจ PA : - ทำงานร่วมกับเครือข่าย สมัชชาจังหวัด เครือข่าย พชอ. เครือข่าย กขป. - โจทย์ คือ ทำอย่างไรให้เขาเข้าใจเรื่องนี้ 4.กลับมาดูที่คู่มือ ต้องแสดงให้เห็นว่า ต้องอธิบาย PA ให้ชัด 5.กลับมาดูชื่อโครงการ เป็นการออกกำลังกายกับกีฬาทั้งนั้น / ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแต่มวยกีฬา / ข้อมูลไม่เวิกซ์ ตอนนี้ที่บอกว่าให้ดูเว็บไซต์ มีปัญหาอะไร - บางโครงการยังเปิดรับทั่วไป - กลับมาดูที่โครงการ ก่อนขยายกองทุน ปรับปรุงให้ดีก่อน 6.คู่มือ มีจุดอ่อนอะไร / วิธีการเทรนนิ่งให้ดีควรทำอะไร - ปรับให้สอดคล้องกับเว็บไซต์ ยึดคู่มือกองทุนตำบล เพิ่มการเขียนโครงการในคู่มือ - ระบุสถานการณ์ ที่สำคัญ ต้องมีตัวอย่างดีๆ - วัยเด็ก ควรมีอะไรบ้าง BBL play และ การเรียนการสอนทำกิจกรรมตลอด ลองดูว่าควรมีกิจกรรมอะไรบ้าง / เวลาเรียนเหมือนเรียนให้เดิน จิกซอร์แต่ละเส้น รูปแบบในโรงเรียน active play Active Leaning / ดูตัวอย่างในต่างประเทศ 7.ในคู่มือ ขาดตัวอย่าง ในแต่ละอย่าง เช่น การสำรวจ /กิจกรรมทางกายในโรงเรียน / จัดประกวดกิจกรรมทางกาย รักษ์สุขภาพ พอไปดูแนวทางวิธีการสำคัญ 8.แนวทางวิธีการสำคัญ มันไม่ค่อยเป็นรูปธรรม มองไม่เห็นเวลาเขียน ยกตัวอย่าง พัฒนาครูพลที่ไม่เน้นการออกกำลังกาย / จัดกิจกรรมพ่อแม่ลูกเดินปั่น / พัฒนาศูนย์เด็ก / เขียนให้มันแล้วมีภาพประกอบ -พอเขียนคู่มือเป็นเล่มส่วนใหญ่จะไม่อ่าน 9.เว็บไซต์ต้องมีส่วนสำคัญ ในการสื่อสารเรื่อง PA / เมนูอีกเมนู เปนตัวอย่างกิจกรรมทางกาย ในกลุ่มเด็กมีอะไรบ้าง / กลุ่มวัยทำงานมีอะไร 10.คู่มือนี้เอาไปใช้ กับ กขป. สมัชชา พชอ. เพื่อให้เขารู้ว่า PA คืออะไร เขียนแบบให้คนอ่าน อยากอ่านต่อ ตอนนี้เขียนแบบวิชาการ / ตอนนี้มองเป็นพี่เลี้ยงตอนนั้น สรุป 1. ทำแบบคู่มือแบบนี้ 2. ทำแบบคู่มืออย่างง่าย 11.PA คือ อะไร / สรุป PA คำง่ายๆ คือ ออกแรง เคลื่อนไหวยังไม่พอ แต่ต้องออกแรงด้วย พอจับคีย์เวิดออกมา / ถ้าเดินไปมาแต่ไม่เหนื่อย / วันนี้ 30 นาที ปานกลางถึงมาก (รวมสัปดาห์ 150 นาที) / เด็ก วันละ 60 นาที / พอจับแบบนี้คิดว่า กิจกรรมหรือรูปแบบอะไรทำให้เกิดแบบนี้ / review มาแล้ว ลงสู่ปฏิบัติ นำมาปรับคำ ใช้คำง่ายๆ และใส่ตัวอย่าง / - เราต้องสื่ออีกแบบ สือคำง่ายๆ ใส่ภาพตัวอย่าง กิจกรรมที่สื่อสาร - นิยาม เป็นการเคลื่อนไหวหรือออกแรง มีความหมายมากกว่าการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา - ทำอย่างไรให้ คีย์เวิด ไปฝังในความเข้าใจของคน / ตอนนี้ทุกอย่างกลายเป็นการออกกำลังกาย - หน้าที่ของเราคือ ทำอย่างไร ให้เขาเข้าใจ / ตอนนี้คนไม่ออกกำลังกาย เพราะไม่มีเวลา แต่เขาสามารถมีกิจกรรมทางกายได้ตลอดทั้งวัน - เช่น ยกขวดน้ำ 1 วันละ 100 ครั้ง ข้างละ 100 ครั้ง / ลิงค์ที่เกี่ยวช้องหน้าเว็บ 12.เรื่องเว็บไซต์ / ปัญหาใหญ่ ขณะนี้เว็บมี พี่เลี้ยง กรรมการกองทุน และเครือข่าย พี่เลี้ยงยังไม่เข้าใจ ทำไงให้กรรมการกองทุน // ต้องมีสื่อที่บอก ตัวอย่างคืออะไร ให้ชัดว่าท้องถิ่นทำอะไรได้มั้ง - เอาวิดีโอ สสส. มาใส่ ที่เกี่ยวข้องกับ PA ทั้งหมด /ทั้ง 2 เว็บ ทั้งหมดต้องใส่ในเว็บ - ประเด็นเว็บไซต์ นัดพี่หมี วิเคราะห์ทำให้เสร็จเรียบร้อย ก่อน 20 นี้ ว่าจะคุยอะไร |
|
ประชุม คู่มือพัฒนาโครงการฯ (สจรส.มอ.) | 17 ก.ย. 2561 | 17 ก.ย. 2561 |
|
ประชุม คู่มือพัฒนาโครงการ และเว็บไซต์ PA |
|
- ดูวัยทำงาน หรือ วัยผู้ใหญ่ - แขวนท่ายกขวดน้ำในเว็บ สสส. - โครงการ ดูโครงการดีๆ แล้วแต่งเพิ่ม / ดูโครงการในพื้นที่ และทำตัวอย่าง
- ข้อ 10 ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย พื้นที่ควรระบุ 1) บ้าน 2) โรงเรียน 3) ชุมชน 4) สถานที่ทำงาน/องค์กร
|
|
ประชุมคู่มือพัฒนาโครงการฯ / วางแผนเวทีมหกรรมสุขภาพ (สจรส.มอ.) | 18 ก.ย. 2561 | 24 พ.ค. 2562 |
|
ปรับปรุงคู่มือพัฒนาโครงการฯ / วางแผนเวทีมหกรรมสุขภาพ |
|
- ความรู้/ความเข้าใจ - ตระหนัก - พฤติกรรม - กรรมพันธุ์ - ความเชื่อ/ความศรัทธา
- สิ่งแวดล้อม (กายภาพ/ชีวภาพ/เคมี) - ดิน/น้ำ/ลม/ไฟ (อากาศ/น้ำ) - สังคม วัฒนธรรม : ประเพณี สภาพแวดล้อม - นโยบาย/การเมือง : รัฐ/ท้องถิ่น - เศรษฐกิจ - การศึกษา - ระบบการศึกษา
- กลไก “กองทุน สปสช.” / ท้องถิ่น/รัฐ/เอกชน/สถาบันการศึกษา/กลไกพี่เลี้ยง - ระบบสนับสนุน ระบบการจัดการข้อมูล - กระบวนการเรียนรู้ / กระบวนการมีส่วนร่วม
- ภาคอีสาน 28-29 พ.ย.2561 รูปแบบห้องวิชาการ 1.ทำความเช้าใจเรื่องกิจกรรมทางกาย 2.แลกเปลี่ยนเครือข่ายสุขภาพ 3.โจทย์ให้เขาคิดต่อ 4.สสส.ขอเคสตัวอย่าง |
|
ประชุมคู่มือพัฒนาโครงการฯ และเว็บไซต์ PA (สจรส.มอ.) | 19 ก.ย. 2561 | 19 ก.ย. 2561 |
|
ประชุม คู่มือพัฒนาโครงการฯ และเว็บไซต์ PA |
|
คู่มือพัฒนาโครงการ - ควรประกอบด้วยหลักการ 1. อยุ่ไหน :ที่มา/หลัก เหตุผล 2. จะไปไหน :วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 3. ไปอย่างไร :วิธีการ 4. ไปถึงหรือยัง : ผลการดำเนินการ / ผลที่คาดไว้ เว็บกองทุน - ใส่ข้อมูลพื้นฐานด้วย เช่น กองทุนมีจำนวนคนทั้งหมดกี่คน / ชายกี่คน / หญิงกี่คน / ช่วงอายุ วัยเด็ก วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุ - นำข้อมูลมาคำนวณเว็บ ค่าร้อยละ PA |
|
ประชุมวางแผนเศรษฐศาสตร์ PA และวางแผนเว็บไซต์ (สจรส.มอ.) | 20 ก.ย. 2561 | 20 ก.ย. 2561 |
|
วางแผนการประเมินเศรษฐศาสตร์ PA และออกแบบระบบเว็บไซต์ |
|
การประเมินเศรษฐศาสตร์ PA 1. ต้นทุนทางตรง - ตรง / ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ - ตรง / ค่าใช้จ่ายไม่ใช่ทางแพทย์ 2. ต้นทุนทางอ้อม / ผลิตภาพที่สูญเสีย จุดหมาย : เพิ่ม PA / ลดอ้วน > สถานการณ์ > จุดหมาย สถานการณ์ PA ในประเทศไทย เป้าหมายตั้งไว้ 80 % 1. PA ในเด็ก 64.8 % 2. PA ในวัยทำงาน 75.8 % 3. PA ในผู้สูงอายุ 68.5 % ยุทธศาสตร์ PA 1. เพิ่ม PA 3 ส่วน - เด็ก - วัยทำงาน - ผู้สูงอายุ เกิด PA / 4 setting - บ้าน - โรงเรียน - ที่ทำงาน - ชุมชน ลักษณะ PA 1. กิจวัตรประจำวัน : ลักษณะงาน 2. การเดินทาง : เดิน/จักรยาน 3. กิจกรรมนันทนาการ / กีฬา / ออกกำลังกาย : Active play , Excers , sport บางโครงการจัดแบบอีเว้น เช่น เต้น 2 วัน แล้วกลับไป โอกาสที่จะทำต่อมีน้อย เศรษฐศาสตร์ มี PA เพิ่มขึ้นแล้ว ยังมีมิติอื่นๆ เช่น ความมั่นคงทางอาหาร / เศรษฐกิจ Paper เด็ก > เพิ่ม outcome เพิ่มความฉลาด โรคอ้วน ในเด็ก อาจเสี่ยงเป็น NCD ในอนาคต BMI COST การรักษาเด็กอ้วน เข้ามาจัดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม / กายภาพบำบัด หลังจากโครงการเสร็จสิ้นมีความต่อเนื่องไหม การพิจารณาโครงการ 1. มีประชากรกี่คน 2. มีความต่อเนื่อง Cost ที่ลด NCDs มีประมาณเท่าไร เมื่อเทียบกิจกรรมก่อนทำโครงการ ................................................................................................................................. การออกแบบระบบเว็บไซต์ 1. ชื่อโครงการ 2. ประเภทโครงการ 3. ผู้เสนอโครงการ 4. ผู้รับผิดชอบโครงการ 5. ประเภทองค์กร 6. - กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์ - ภาพรวมเนื้อหามาตรา 5 - ประเด็น 7. ความเป็นมา (สถานการณ์) 8. วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัด / สถานการณ์ / เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย - 3 ช่วงวัย - 4 setting - ลักษณะทาง PA แนวทางและวิธีการสำคัญ วิธีการดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ แหล่งทุนอื่น ออกแบบเว็บ กราฟฟิก ดีไซน์ |
|
ประชุมเศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย (PA) กับคณะเศรษฐศาสตร์ ม.อ. (สจรส.มอ.) | 3 ต.ค. 2561 | 3 ต.ค. 2561 |
|
ประชุมประเด็นเศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย 1. แนะนำโครงการ PA ปี 1 ได้ผลักดันมติสมัชชา “กิจกรรมทางกาย” มีข้อ 1 ได้ผลักดันเรื่องมาตราการทางภาษีและการเงิน 2. อธิบายความหมายคำว่า กิจกรรมทางกาย หมายถึงมากกว่าการออกกำลังกาย เช่น - การออกแรงในชีวิตประจำวัน - การเดินทาง - การออกกำลังกาย 3. PA เป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยป้องกันโรค NCDs / มีมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ 4. มีแนวทางศึกษาความเป็นไปได้เรื่องมาตรการทางภาษี และมาตรการทางเงิน |
|
สรุปประเด็น 1. PA มีผลทางเศรษฐกิจ เป็นต้นทุน การทำโครงการ PA เพื่อเทียบมากน้อยแค่ไหน กับการลงทุนไปคุ้มหรือไม่ มาตรทางภาษี ในหลายประเทศมีอยู่ อาจจะต้อง review เพิ่มเติม แนวทางในประเทศไทย 1. โครงการส่งเสริม PA / รัฐบาลลงทุนค่าใช้จ่ายในการเพิ่มโครงสร้าง / อัตราภาษี ภาษีที่เก็บโดยตรงกับ PA / เก็บภาษีอุปกรณ์กีฬา ให้ภาษีน้อยกว่า 2. เครื่องมืออะไรทีเคยเก็บ โครงสร้างภาษี 3. ภาษีนิติบุคคล BOI / สิทธิประโยชน์การลงทุนเศรษฐกิจ / การผลิต / ใช้อุปสรรคเครื่องมือ /โดยใช้โครงสร้างภาษี 4. ดูงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. CSR บริษัทเอกชนทำในเรื่องนี้ เช่น จัดกิจกรรมส่งเสริม PA เหมือนที่ผ่านมา CSR กับสิงแวดล้อม 6. ทางอ้อม กฎระเบียบต่างๆ ตั้งชมรมเงื่อนไข - องค์กร > ขอทุน 7. ดอกเบี้ย การกู้เงินในระบบ เช่น สถาบันการเงิน ออมสิน / ธกส. / ธอส. |
|
สรุปประชุมแกนประสานพี่เลี้ยง (เหนือ กลาง อีสาน ใต้) (กรุงเทพ) | 6 ต.ค. 2561 | 6 ต.ค. 2561 |
|
สรุปเตรียมงาน มหกรรมสุขภาพ และวางแผนการทำงานกับกองทุนสุขภาพตำบลฯ |
|
สรุปเตรียมงาน มหกรรมสุขภาพ จัดบูท PA และเสวนา - ภาคเหนือ จัด วันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2561 - ภาคอีสาน จัด วันที่ 28 – 29 พฤศจิกายน 2561 จากมติสมัชชา ข้อที่ 1 นำมาสู่ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนมติดังกล่าวในงานมหกรรมสุขภาพ โดยมีวัตถุประสงค์สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดการรับรู้ เข้าใจ ตระหนักและมีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการ กิจกรรมและการจัดพื้นที่เพื่อนำไปสู่การมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้ 1. การจัดเสวนาถอดบทเรียนต้นแบบกิจกรรมทางกายในเขตภาคอีสาน 2. การจัดบูทนิทรรศการเพื่อสื่อสารการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ขนาดบูทประมาณ 2 x 3 เมตร) 3. การจัดเสวนาสรุปบทเรียนการดำเนินการโครงการกับกองทุนสุขภาพตำบล 4. แลกเปลี่ยนข้อเสนอในพื้นที่ เชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และโครงการ ในการส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น เพื่อจะนำไปสู่แนวทางปฏิบัติในพื้นที่ต่อไป |
|
ประชุม เศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย (PA) (สจรส.มอ.) | 16 ต.ค. 2561 | 16 ต.ค. 2561 |
|
ประชุมในประเด็น ดังนี้
1. กระบวนการวิจัย |
|
สรุปประชุม ดังนี้
1. ในมติสมัชชาพูดถึงการใช้มาตรการทางภาษี สิ่งที่พูดมาจะเป็นตุ๊กตา ถ้า PA ลด cost ได้จริง ก็จะนำไปเป็นข้อมูลหลักการและเหตุผล จะประหยัดค่าใช้จ่าย
|
|
ประชุมวางแผน PA เตรียมงานมหกรรสุขภาพ (สจรส.มอ.) | 18 ต.ค. 2561 | 24 พ.ค. 2562 |
|
ประชุมวางแผน PA เตรียมงานมหกรรสุขภาพ |
|
- คลินิกพัฒนาโครงการ - โปรแกรมกองทุน คุยกับ ผจก.และ สน.3 5. แผนนัดพี่เลี้ยงแต่ละภาค ตามคุณภาพงานเก่า และขยายพื้นที่กองทุนใหม่ 1. ใต้ล่าง: ปัจจัยเสี่ยงนัด 30 ต.ค.61 2. ใต้บน: นัดวันอีกที ให้ พี่เปิ้ล สปสช.ไปช่วย /ทีมพี่เผือก พี่ชยานิน 3. เหนือ: คุยแผนกับ อ.สุวิทย์วันที่ 2 พย.นี้ / อาจมีทีมพี่แดงมาช่วยเสริม 4. กลาง: วางแผนอีกที / พี่โต ดูเฉพาะนครสวรรค์ 5. อีสาน: วางแผนอีกที ปีนี้ทีมพี่ตุ๊กตากับพี่เต่า = ประมาณวันที่ 20 พย.61 6. นัด อ.ภารนี - สมัชชาปีนี้ อ.ภารนีจะมีเรื่อง พื้นที่สาธารณะเข้ามา - คุยกับพี่จันว่ามีประชุมกลุ่มเมื่อไหร่ / เราขอแทรกเข้าไปคุยด้วย |
|
ประชุมความก้าวหน้าเศรษฐศาสตร์ PA (สจรส.มอ.) | 2 พ.ย. 2561 | 2 พ.ย. 2561 |
|
ประชุมความก้าวหน้าเศรษฐศาสตร์ PA |
|
ได้ติดตามความก้าวหน้าโครงร่างวิจัย เรื่อง ค ว า ม คุ้ม ค่า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ส่ง เ ส ริม ก า ร เ พิ่ม กิจ ก ร ร ม ท า ง ก า ย ข อ ง ค น ไ ท ย เ พื่อล ด ค ว า ม เ สี่ย ง ข อ ง ก า ร เ กิด โ ร ค ใ น ก ลุ่ม โ ร ค ไ ม่ติด ต่อ เ รื้อ รัง |
|
การประชุมวางแผนและติดตาม มติสมัชชาข้อ 3 สถาปนิค (สช.กรุงเทพฯ) | 12 พ.ย. 2561 | 12 พ.ย. 2561 |
|
การประชุมวางแผนและติดตาม มติสมัชชาข้อ 3 สถาปนิคฯ 3.1 การวางหลักเกณฑ์หรือปรับปรุงฯ 3.2 ให้พื้นที่กลางเปิดโอกาสให้คนในชุมชนใช้ประโยชน์ |
|
ปรึกษาหารือขับเคลื่อน 1. การขับเคลื่อนกับองค์กรวิชาชีพสถาปนิกและผังเมืองเป็นหลัก 2. องค์กรวิชาชีพ มีคู่มือแนะนำหลักเกณฑ์ จะเสร็จประมาณปลายเดือน มกราคม ถึง กพ.นี้ ในคู่มือจะมีทั้ง Process และ settings |
|
ประชุมติดตามความก้าวหน้าหน้าพี่เลี้ยง 4 ภาค (กรุงเทพฯ) | 15 พ.ย. 2561 | 15 พ.ย. 2561 |
|
ประชุมติดตามความก้าวหน้าหน้าพี่เลี้ยง 4 ภาค |
|
สรุปประชุม พี่เลี้ยง ผลงานพี่เลี้ยง แนวทางพี่เลี้ยงดำเนินการต่อ
- แผน (ในส่วนนี้ให้พี่เลี้ยงลงข้อมูลเองก่อน) โครงการ (พัฒนาโครงการ) ตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ ปรับปรุง วัตถุประสงค์/เป้าหมาย ความสอดคล้องของโครงการกับแผน ปรับวิธีการ กิจกรรม – แยกกิจกรรม (จัดคนละวัน ให้แยกกิจกรรมออก) |
|
มหกรรมสานพลังสร้างสุข"โฮมสุขอีสาน" (จ.ขอนแก่น) | 28 พ.ย. 2561 | 29 พ.ย. 2561 |
|
|
|
แลกเปลี่ยนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนหลังรับงานโครงการกิจกรรมทางกาย เช่น เดินเพิ่มขึ้นในช่วงเวลาทางาน เช่น เดินไปทางาน เดินไปเข้าห้องน้าทุก 1-2 ชั่วโมงเพื่อให้เกิดกิจกรรมทางกาย การเปลี่ยนแปลงที่พบคือ น้าหนักลดลง 5 กิโลกรัม วิทยากรตั้งคาถามให้กับผู้เข้าประชุม - กิจกรรมทางกายที่พอเพียงคืออะไร - ผู้เข้าร่วมคนใดที่มีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดัน กิจกรรมทางกายที่พอเพียง คือ กิจกรรมที่มีความพอเพียงด้านออกแรงและระยะเวลาในการออก เช่น เด็กควรมีกิจกรรมทางกายมากกว่า 60 นาทีต่อวัน ผู้สูงอายุควรมีกิจกรรมทางกายมากกว่า 150 ครั้งต่อสัปดาห์ กิจกรรมทางกายมีประโยชน์ในการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือด การแลกเปลี่ยนบทเรียนPA ในท้องถิ่น ผู้ดาเนินรายการคือ อาจารย์ ธวัชชัย เคหบาล ชี้แจงวัตถุประสงค์การเสวนา เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดาเนินการโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ เข้ามาร่วมแลกเปลี่ยน ภาคีที่มาเข้าร่วมประกอบด้วย ตัวแทนเขตซึ่งมีประสบการณ์การทากิจกรรมทางกายในพื้นที่ คณะกรรมการกองทุน ตัวแทนจากท้องถิ่น ท้องที่ รพ.สต. ตัวแทนภาคชุมชน ทุกคนเป็นผู้ปฏิบัติการในพื้นที่ โดยมีผู้แทน 4 เขตสุขภาพร่วมดาเนินการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วย - ตัวแทนเขต 7 คุณเอมอร ชนะบุตร ตัวแทนภาคประชาชน ประธานอสม.ทุ่งคลองตัวแทนประกันสุขภาพเทศบาลคาม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ - ตัวแทนเขต 8 คุณจุไรรัตน์ เผ่าพันธุ์ รพ.สต. คาด้วง จังหวัดอุดรธานี - ตัวแทนเขต 9 คุณสุพรรณ ชูชื่น ผอ.รพ.สต บ้านโคกมั่งงอย ชัยภูมิ คณะกรรมการกองทุนสุขภาพ ที่ปรึกษาศูนย์คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ และ นส.พรสุดา ต่อชีพ ผอ.กองสธ. - ตัวแทนเขต 10 รัตนา สาธุภาพ นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต.กุดตระกร้า ตาบลสร้างก่อ จังหวัดอุบลราชธานี |
|
วางแผนและคุยเว็บ PA สสส. | 3 ธ.ค. 2561 | 3 ธ.ค. 2561 |
|
ประชุมวางแผน และการใช้เว็บ PA |
|
ได้สรุปการออกแบบเว็บไซต์ PA https://www.pathailand.com เพื่อนำไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคีต่อไป |
|
ประชุมคณะทำงาน สจรส.มอ. (สจรส.มอ.) | 4 ธ.ค. 2561 | 4 ธ.ค. 2561 |
|
ประชุมคณะทำงาน สจรส.มอ. |
|
|
|
การประชุมวางแผนการทำงาน รพสต.กับกองทุนตำบล การวางแผนขับเคลื่อนคลินิกพัฒนาโครงการ (สนง.สสส.กรุงเทพฯ) | 7 ธ.ค. 2561 | 7 ธ.ค. 2561 |
|
การประชุมวางแผนการทำงาน รพสต.กับกองทุนตำบล การวางแผนขับเคลื่อนคลินิกพัฒนาโครงการ วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เวลา 13.00-16.30 น. ณ เวลา 13.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุม 321 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ กรุงเทพ |
|
สรุปประชุมวางแผนการทำงาน รพสต.กับกองทุนตำบล ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนทั้งหมด.....15.....คน ประกอบด้วย องค์กร สสส. , สปสช., สำนักงานระบบปฐมภูมิและครอบครัว กระทรวงสาธารณสุข, สจรส.มอ. เรื่องโปรแกรมพัฒนาและติดตามโครงการ 1. โปรแกรมฯ ปัจจุบันมี 4 โปรแกรม ชื่อโปรแกรม ชื่อเว็บไซต์ ผู้พัฒนาโปรแกรม รูปแบบการใช้งาน 1) โปรแกรมบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ http://obt.nhso.go.th/obt/home สปสช. ส่วนกลาง กองทุนฯ ใช้คีย์ข้อมูลชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมทำอะไรและการเงินโครงการ 2) โปรแกรมระบบรายงานการโอนเงิน (NHSO Budget ) http://ucapps1.nhso.go.th/budgetreport/ สปสช. ส่วนกลาง การเงินโครงการ 3) โปรแกรม LongTermCare http://ltc.nhso.go.th/ltc/#/login สปสช. ส่วนกลาง LongTermCare 4) โปรแกรม พัฒนาและติดตามโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ http://localfund.happynetwork.org/ สปสช.เขต 12 พัฒนาร่วมกับ สจรส.มอ. - กองทุนนำร่อง 270 กองทุน/12 เขตทั่วประเทศ (ดำเนินการด้วยโครงการของ สจรส.มอ.) ได้ใช้โปรแกรมในการพัฒนาโครงการและติดตามโครงการ - เฉพาะเขต 12 ที่มีการใช้โปรแกรมฯ เต็มระบบ คือ ใช้ในการพัฒนาโครงการ ติดตามโครงการ และการเบิกจ่ายการเงิน รายงานการเงิน รายละเอียดโปรแกรม พัฒนาและติดตามโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตอนนี้โปรแกรมได้พัฒนาแผนงานกองทุน 5 แผน ได้แก่ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร และกิจกรรมทางกาย เป็นหลัก รวมทั้งมีแผนงานอื่นๆ โปรแกรมได้ออกแบบมาให้ทุกภาคส่วน สามารถเขียนโครงการขอทุนสนับสนุนได้ /แต่การขอทุนสนับสนุนนั้นมีกิจกรรมบางอย่างที่ใช้เงินกองทุนไม่ได้ เช่น โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ ขอสนับสนุนในเรื่องกระบวนการกับกองทุนฯ ได้ แต่ถ้าใช้สิ่งก่อสร้างทำแปลงปลูกผักจะใช้เงินกองทุนไม่ได้ ระบบจึงได้ออกแบบเปิดโปรแกรมที่สามารถใช้เงินท้องถิ่นที่สามารถของบด้านการก่อสร้าง เรื่องการซิงค์ข้อมูลด้วยกัน ระหว่าง 1) เว็บพัฒนาและติดตามโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (http://localfund.happynetwork.org/) กับ 2) โปรแกรมส่วนกลาง ซึ่งทางส่วนกลาง สปสช.ตอนนี้ยังไม่มีนโยบายจะซิงค์ข้อมูลก่อน ถ้าจะซิงค์ข้อมูลเข้าส่วนกลางต้องประชุมกันอีกครั้งว่าจะเลือกซิงค์ข้อมูลใดได้บ้าง โปรแกรมเมอร์ต้องคุยในเชิงเทคนิค และส่วนกลางต้องประชุมในเชิงนโยบายอีกครั้ง เรื่องวางแผนกระบวนการการทำงาน 1. โจทย์คือ การพัฒนาศักยภาพ รพสต. การพัฒนาการรวมกลุ่มของ รพสต.ในพื้นที่ให้มากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่การทำงานจะอยู่ในรูปแบบการออกแบบโครงการ และจะมีกระบวนการอย่างไรให้ช่วยคิดออกแบบโครงการถึงระดับพื้นที่ รวมไปถึงการสร้างพื้นที่เรียนรู้ หรือเซตระบบศูนย์การเรียนรู้ 2. มองว่าโปรแกรมฯ เป็นเครื่องมือ ไปใช้แก้ปัญหาสุขภาพให้ดีขึ้น ซึ่งท้องถิ่นมีกลไกกองทุนตำบลอยู่ ให้ดึงเอา รพ.สต.มาช่วยทำแผนกองทุน จะทำให้มีคุณภาพดีขึ้น 3. กลไกการทำงาน ให้ใช้กลไกพี่เลี้ยง สปสช. พี่เลี้ยงสาธารสุข (พัฒนาพี่เลี้ยงจาก รพ.สต.) และทีมวิชาการ สสส. โดยรวมทีมกันทำงาน 4. การเลือกพื้นที่ค่อยๆ ชวนโดยความสมัครใจของพื้นที่ เป็นพื้นที่เข้มแข็งพอและเห็นโอกาสในการพัฒนา และประกอบกับให้กระทรวงออกนโยบายและเลือก พชอ.ต้นแบบ ควบคู่กัน / บางพื้นที่มีกลไกของ สช.ที่น่าสนใจ มี กขป.เขตสุขภาพ / มี สปสช.เขต ดังนั้นการทำงานจะเป็นความร่วมมือระหว่าง สสส. สปสช. สช. สธ. แต่การทำงานในพื้นที่จะใช้เงินของกองทุนตำบลฯ สรุปประเด็นขับเคลื่อนงานต่อ 1. การเลือกพื้นที่เป้าหมาย ให้กระทรวงสาธารสุขเลือกพื้นที่ พชอ.ที่เข็มแข็ง ไม่บังคับ มีความพร้อมนำร่อง 2. จำนวนพื้นที่ 77 จังหวัด (เลือก พชอ. 77 อำเภอ (หรืออาจมากกว่า 1-2 อำเภอ) อำเภอละ 10 กองทุน รวมทั้งหมด 770 กองทุน) 3. กลไกการทำงาน ให้ใช้กลไกพี่เลี้ยง สปสช. พี่เลี้ยงสาธารสุข (พัฒนาพี่เลี้ยงจาก รพ.สต.) และทีมวิชาการ สสส. 4. การพัฒนา proposal โครงการที่จะขับเคลื่อน ให้ทาง สจรส.มอ. เขียนโครงการ วางแผน กระบวนการ (ร่างตุ๊กตาการทำงาน) 5. พื้นที่นำร่อง 77 พชอ. ให้ใช้โปรแกรมพัฒนาและติดตามโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (http://localfund.happynetwork.org/) ในการพัฒนาโครงการ และติดตามโครงการ ใช้กับพื้นที่นำร่อง 77 จังหวัด 77 พชอ. ก่อน ยังไม่ได้ใช้เชิงนโยบายทั้งประเทศ 6. นัดประชุมครั้งต่อไป วันที่ 30 มกราคม 2562 เวลา 13.30-16.00 น. รายงานความก้าวหน้า proposal โครงการกองทุนตำบลฯ สรุปประชุมการวางแผนขับเคลื่อนคลินิกพัฒนาโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนทั้งหมด.....8....คน ประกอบด้วยองค์กร สสส. และ สจรส.มอ. การขับเคลื่อนมติสมัชชา PA การขับเคลื่อนมติสมัชชา PA องค์กรที่ขับเคลื่อนร่วมกัน แนวทางการทำงาน มติ 1 สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง PA สร้างแนวทางวิธีการเพิ่ม PA และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ PA เครือข่ายสมัชชา กขป. (อีสาน เหนือ ใต้ กลาง) ดำเนินการสร้างความเข้าใจ PA ในงานสร้างสุขฯ แต่ละภาค มติ 2 Health literacy เรื่อง PA กรมอนามัย กรมอนามัยดำเนินการเอง มติ 3 - วางหลักเกณฑ์หรือปรับปรุงระเบียบออกแบบฯ ที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย - การจัดให้มีและจัดการพื้นที่ในการครอบครองเอื้อต่อ PA เครือข่ายสถาปนิก - เครือข่ายสถาปนิก ขับเคลื่อนมติของสถาปนิก (SP) จะจัดทำคู่มือหลักเกณฑ์การออกแบบพื้นที่ฯ จะเสร็จประมาณปลาเดือน มกราคม ถึง กพ. 62 นี้ นัดคุยอีกครั้ง เพื่อเอาองค์ความรู้เครือข่ายสถาปนิก สสส.แลกเปลี่ยนเข้าไปในคู่มือด้วย - วางแผนการทำงานมติด้านสถาปนิกอีกครั้ง มติ 4 สร้างครอบครัว PA พัฒนามนุษย์และสังคม นัดวงคุย มติ 5 การพัฒนาหลักสูตร PA ฯ กระทรวงศึกษาธิการ นัดวงคุย มติ 6 พัฒนาสถานประกอบการมี PA ฯ กระทรวงแรงงาน นัดวงคุย มติ 7 กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีแผน โครงการ PA ฯ กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ สจรส.มอ.ดำเนินการอยู่ / รอดำเนินการพร้อมกันกับโครงการพัฒนาศักยภาพ รพสต. ในพื้นที่ พชอ. 77 จังหวัด (770 กองทุน) มติ 8 มาตรการทางภาษี สวรส. และสจรส.มอ. นำร่างโครงการมาตรการทางภาษีมานำเสนอกับ สน.5 สสส. อีกครั้ง มติ 9 สื่อสารเรื่อง PA สื่อสารมวลชน สสส.ดำเนินการอยู่ พัฒนาโครงการคลินิก สสส. 1) ได้โจทย์การพัฒนาศักยภาพทีมวิชาการ โดยจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่อง Active play และทีมวิชาการ สสส. สามารถทำแผน โครงการของกองทุนตำบลฯ ได้ 2) เว็บไซต์ PA thailand สสส. (https://www.pathailand.com/) นำโครงการ Active play และ โครงการวิ่งฯ มาเรียนรู้ระบบพัฒนาโครงการ และการกรอกข้อมูลต่างๆ ทั้งนี้ในเรื่องการกรอกข้อมูลการติดตามประเมินผล ทางโปรแกรมจะออกแบบให้สอดคล้องกับบริบทของโครงการอีกครั้ง |
|
ประชุมถอดบทเรียน PA (จ.เชียงใหม่) | 8 ม.ค. 2562 | 8 ม.ค. 2561 |
|
ประชุมวางแผนการทำงาน PA และถอดบทเรียนที่ผ่านมา ในวันที่ 8 มกราคม 2562 ณ ห้องประชุม โรงแรมดวงตะวัน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
|
คำถามแลกเปลี่ยน
จุดแข็ง ข้อจำกัด แนวทาง จุดแข็ง แนวทาง 1. กลไกกลางควรมีประสิทธิภาพ 2. ดึงสาธารณสุขอำเภอมาทำงานเป็นหัวใจสำคัญ / สาธารสุขอำเภอ เรื่องต้องผ่านจังหวัด 3. ควรมีพี่เลี้ยงเป็น พชอ. 4. เงื่อนไขเวลาให้กระชับ 5. ประสานอำเภอ นายอำเภอ ทำข้อมูลแผ่นท้องถิ่น 6. การนัดพี่เลี้ยงมาคุยกัน การพบปะพี่เลี้ยง /นัดเจอกันเดือนละครั้งจะดี 7. พื้นที่เก่า ให้เขามานำเสนอเป็นพื้นที่ต้นแบบ 8. การเลือกพื้นที่ โฟกัสไปที่ผู้ประสานเขต > เลือกผู้แทนของ สปสช.ก่อน > การประสานคนที่รู้จักคุ้นเคยทำงาน > เลือกแกนพี่เลี้ยงเขต > เลือกบุคคลเป็นแกน อำเภอไหนมีความพร้อมอิสระในการเลือกพื้นที่ แต่ละจังหวัด พชอ.ทำเต็มพื้นที่อยู่แล้ว นโยบายเต็มพื้นที่ |
|
ประชุมเศรษฐศาสตร์ PA (สจรส.มอ.) | 14 ม.ค. 2562 | 14 ม.ค. 2562 |
|
ประชุมเศรษฐศาสตร์ PA |
|
ได้แผนการประเมินโครงการเศรษฐศาสตร์ PA และออกแบบการประเมินความคุ้มค่าของโครงการ |
|
ประชุมวางแผนเว็บ PAthailand | 15 ม.ค. 2562 | 15 ม.ค. 2562 |
|
ประชุมวางแผนเว็บ PAthailand |
|
ได้ออกแบบการใช้เว็บไซต์ PA ที่เหมาะสมกับภาคีเครือข่าย สสส. |
|
พัฒนาโครงการ PA ประเภทนวัตกรรมฯ PA สสส. (ม.จุฬาฯ กรุงเทพฯ) | 22 ม.ค. 2562 | 22 ม.ค. 2562 |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการเพื่อพัฒนาศักยภาพ โครงการส่งเสริมนวัตกรรม การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ (เปิดรับทั่วไป) วันอังคารที่ 22 มกราคม 2562 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ อาคารจุฬาพัฒน์ 7 คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ม.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร |
|
ผอ.สน 5 สำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ บรรยาย ยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ.2561-2573 และการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มวัยเด็ก (active play)
สรุปประเด็น
1. PA เจอปัญหาท้าทายเรื่องฝุ่นและสิ่งแวดล้อม เป็นเรื่องใหม่ เนื่องจากปัญหานี้มีผลต่อการมี PA
2. PA เข้ามาในไทย 6-7 ปี ประเด็นในประเทศไทยยังเป็นเรื่องใหม่อยู่ ดังนั้นการสื่อสารเรื่อง PA ควรสร้างความเข้าใจให้มากขึ้น
3. เรื่องการออกกำลังกาย PA เป็นไดนามิก คนที่ออกกำลังกายไปสักระยะจะหยุดออกกำลังกาย แล้วหันมาออกใหม่ หรือหยุดออกไปเลยมันเป็นไดนามิกมาก
4. เรื่อง Policy PA ตอนนี้พร้อมแล้ว เช่น 1. แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (พ.ศ. 2561-2573) 2. สมัชชาสุขภาพเรื่อง PA /เรื่องการพัฒนาพื้นที่เล่นสร้างเสริมสุขภาวะของเด็กปฐมวัยและวัยประถมศึกษา 3. นโยบายโลก The Bangkok Declaration
โจทย์คือ จะนำไปสู่การปฏิบัติอย่างไรบ้างต่อ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล บรรยาย การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (active play) ในโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนฉลาดเล่นและอื่นๆ
สถานการณ์
- การเรียนเฉพาะวิชาพลศึกษา ไม่เพียงพอต่อการมีกิจกรรมทางกายของเด็ก แนวทาง ปัจจัยที่มีผลต่อ Active Play
- โรงอาหาร
- กฎระเบียบ เว็บไซต์ PAthailand เน้นคุณภาพ 4 ด้าน
1. หลักการและเหตุผล
- ระบุสถานการณ์ PA ประเด็นที่สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชน |
|
รายงานความก้าวหน้า proposal โครงการกองทุนตำบลฯ พชอ.77จังหวัด (สนง.สสส.กรุงเทพฯ) | 30 ม.ค. 2562 | 30 ม.ค. 2562 |
|
ประชุมความร่วมมือแนวทางการทำงานกองทุนตำบล |
|
- เรื่องประเด็นพัฒนาโครงการ เดิมที่เคยพัฒนาโครงการไว้มี 5 ประเด็น ได้แก่ กิจกรรมทางกาย อาหาร ปัจจัยเสี่ยง (เหล้า, บุหรี่, สารเสพติด) ทั้งนี้จะเพิ่มเติมประเด็นเด่นๆในพื้นที่เพิ่มเติมด้วย เช่น ผู้สูงอายุ, โรคติดเชื้อ, การจัดการขยะ. อาจจะมีแรงงานนอกระบบเข้ามาด้วย
- พื้นที่ดำเนินการประมาณ 100 กว่าพื้นที่ คัดเลือกพื้นที่โดยการเจรจากับพื้นที่ด้วยความยินยอม ถ้าไม่สมัครใจก็สามารถเปลี่ยนพื้นที่ได้ |
|
ประชุมเตรียมประเด็นโครงร่างเศรษฐศาสตร์ PA | 1 ก.พ. 2562 | 1 ก.พ. 2562 |
|
ประชุมเตรียมประเด็นโครงร่างเศรษฐศาสตร์ PA |
|
แลกเปลี่ยน - มองคุณค่าที่เกิดขึ้นความสัมพันธ์ในชุมชน /ลงตามกระบวนการ - โจทย์คือ มองความคุ้มค่า/ ดูทั้ง output/outcome/impact |
|
ประชุมเศรษฐศาสตร์ PA ที่ สสส. กรุงเทพ | 8 ก.พ. 2562 | 8 ก.พ. 2562 |
|
ประชุมหารือแลกเปลี่ยนแนวทางการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ของโครงการกิจกรรมทางกาย วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ห้อง 310 ณ สสส. |
|
การประชุมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแลกเปลี่ยนแนวทางการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการกิจกรรมทางกาย
ประเด็นแลกเปลี่ยน
1. PA เป็นปัจจัย 1 ใน 4 ของปัจจัยหลักในการลดโรค NCDs ไม่อยากให้มอง PA เฉพาะการลด NCDs
นัดประชุมครั้งต่อไป ชื่อประชุม PA ในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์สุขภาพ |
|
ประชุมทีม สธ. สปสช. สสส. คุย proposal โครงการบูรณาการกลไก 77 พชอ. | 11 ก.พ. 2562 | 11 ก.พ. 2562 |
|
ประชุมหาแนวทางความร่วมมือระดับนโยบาย ระหว่างหน่วยงาน และแลกเปลี่ยนข้อเสนอโครงการบูรณาการ ณ ห้องประชุมจามจุรี 2 ชั้น M โรงแรมปทุมวันปริ้นเซส |
|
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้ |
|
ประชุมเศรษฐศาสตร์ PA ที่ สสส. กรุงเทพ | 27 ก.พ. 2562 | 27 ก.พ. 2562 |
|
สถานที่ สสส. ห้อง 413 กรุงเทพมหานคร |
|
นำเสนอ: ECO ประชากร 20-60 ปี ปลายทาง One helth two ตอนนี้ งานที่ผ่านมาที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ SROI 2 กรณี งานนี้จะสร้าง Value / Tax / มาตรการต่างๆ สรุป |
|
ประชุมติดตามความก้าวหน้ามติสมัชชา PA | 28 ก.พ. 2562 | 28 ก.พ. 2562 |
|
การประชุมรายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ประเด็น “การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น” |
|
การประชุมรายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ประเด็น “การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น” ผลการประชุมได้รับความร่วมมือจากองค์กรสำคัญของประเทศ ในการส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับมติ PA เข้าร่วมประชุม ซึ่งเป็นแกนกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพ PA องค์กรที่สำคัญร่วมขับเคลื่อนประเด็นกิจกรรมทางกาย เช่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)สำนักคณะกรรมการสุภาพแห่งชาติ (สช.) กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย สมาพันธ์ชมรมวิ่งเพื่อสุขภาพ สมาคมวิชาชีพ/เครือข่ายผังเมืองฯ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล มูลนิธิสถาบันการเดินและการจักรยานไทย สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น นอกจากนี้ได้ขับเคลื่อนผ่านความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทยในลักษณะเป็นกลุ่มมติที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย |
|
ประชุมปรึกษาหารือแนวทางการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพฯ กรณี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | 3 ก.ค. 2562 | 3 ก.ค. 2562 |
|
การประชุมปรึกษาหารือแนวทางการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพฯ เป็นกลุ่มมติร่วมกันผ่านกลไกหลักที่เกี่ยวข้อง : กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในวันพุธที่ 3 กรกฏาคม 2562 เวลา 9.30-13.00 น. ณ ห้องประชุม สานใจ 2 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ ภายในกระทรวงสาธาณสุข |
|
เครือข่ายมติสมัชขาสุขภาพ ที่เข้าร่วมประชุม แนวทางเสนอต่อ อปท. 1. เสนอต่อปรับปรุงมาตราการ/ข้อบัญญัติฯ เช่น แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร และข้อบัญญัติท้องถิ่น เป็นต้น 2. เสนอต่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ เช่น การสร้างทางเดิน/ปั่นจักรยานโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น จัดทำโครงสร้างพื้นฐานให้เหมาะสมและปลอดภัย / การเปิดให้ประชาชนเข้าถึงการใช้ประโยชน์พื้นที่ในการครอบคลุมขององค์กร เป็นต้น แนวทางการทำงานต่อไป
1. สร้างกลไกการทำงานรวมมติที่ตอบโจทย์การขับเคลื่อนมติโดยรวมกับองค์กร และตรงจุดการเชื่อมประสานกับ โครงการสร้างของ อปท.
2. การจัดทำชุดความรู้ที่จะเสนอต่อ อปท. |
|
ประชุมพี่เลี้ยงกองทุน 12 เขต ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี | 10 ส.ค. 2562 | 10 ส.ค. 2562 |
|
ประชุมพี่เลี้ยงกองทุนพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (พี่เลี้ยงกองทุน 12 เขต) |
|
ประเด็นการประชุม 1. ชี้แจงความเป็นมาวัตถุประสงค์ และเป้าหมายการทำงานบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที 2. หารือบทบาทและวางแผนการทำงานของคณะทำงานวิชาการ 3. แนวทางการพัฒนาเครื่องมือ เพื่อการพัฒนาโครงการ และการติดตามผลโครงการ สรุปผลดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย : 76 พชอ. + 51 กองทุน ภาคเหนือ เขต 1, 2, 3 โครงสร้างกลไกการทำงาน ภาคอีสาน เขต 7, 8, 9, 10 กลไกพี่เลี้ยงภาคอีสาน พื้นที่เป็นตัวตั้ง เป็นคนในพื้นที่ แนวทาง
1. ผู้รับผิดชอบหลัก / ทีม ภาคใต้ เขต 11, 12 ทบทวนผลงาน 61 วิธีการทำงาน |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ณ มหาลัยกีฬาแห่งชาติ จ.อ่างทอง | 30 ส.ค. 2562 | 30 ส.ค. 2562 |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์
วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม 2562 เวลา 10.00 – 16.30 น.
ณ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตอ่างทอง วัตถุประสงค์
1. สร้างความเข้าใจกับผู้รับทุนในเรื่องการรายงานผลการดำเนินงานและการจัดเก็บเอกสารทางการเงิน
2. ผู้รับทุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ และวางแผนการทำงานโครงการ
3. ผู้รับทุนสามารใช้ระบบรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ได้ 11.00 – 12.00 น. แนะนำระบบรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ (www.pathailand.com) :พักรับประทานอาหารว่างและยืดเหยียดร่างกายเวลา 10.00 น และ 15.00 น. |
|
|
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ณ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น | 30 ส.ค. 2562 | 16 ส.ค. 2562 |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์
วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2562 เวลา 09.00 – 15.30 น.
ณ ห้องประชุมโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
วัตถุประสงค์
1. สร้างความเข้าใจกับผู้รับทุนในเรื่องการรายงานผลการดำเนินงานและการจัดเก็บเอกสารทางการเงิน
2. ผู้รับทุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ และวางแผนการทำงานโครงการ
3. ผู้รับทุนสามารใช้ระบบรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ได้ |
|
รายละเอียด
|
|
ประชุมแกนนำพี่เลี้ยงกองทุนฯ 12 เขต | 31 ส.ค. 2562 | 31 ส.ค. 2562 |
|
การพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน พี่เลี้ยงกองทุน 12 เขต ณ โรงแรมไมด้า งามวงศ์วาน ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรีจังหวัดนนทบุรี |
|
แบ่งกลุ่มย่อย 3 กลุ่ม กลุ่มย่อยที่ 2 เจ้าหน้าที่ไอทีเขต 12 เขต - ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือ Zoom และเครื่องมือ Online ในการพัฒนาโครงการ และการติดตามผลโครงการ โดย คุณภาณุมาศ นนทพันธ์ และคุณสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน กลุ่มย่อยที่ 3 เจ้าหน้าที่การเงินเขต 12 เขต
- การบริหารจัดการการเงินโครงการ โดยน.ส.สิริมนต์ ชีวะอิสระกุล และนายญัตติพงศ์ แก้วทอง |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ม.นเรศวร จ.พิษณุโลก | 2 ก.ย. 2562 | 2 ก.ย. 2562 |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์
วันจันทร์ที่ 2 กันยายน 2562 เวลา 09.00 – 15.30 น.
ณ ห้องสัมมนา 2 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เวลา กิจกรรม |
|
- อ.สุชาติ แนะนำ การรายงานผลให้ระบุปัจจัยความสำเร็จ ปัจจัยที่ควรระวัง การทำกิจกรรม - คุณสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน แนะนำระบบติดตามประเมินผลโครงการ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ จ.นครศรีธรรมราช | 7 ก.ย. 2562 | 7 ก.ย. 2562 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์
วันเสาร์ที่ 7 กันยายน 2562 เวลา 09.00 – 15.30 น.
ณ โรงแรมแกรนด์ปาร์ค อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช วัตถุประสงค์
1. สร้างความเข้าใจกับผู้รับทุนในเรื่องการรายงานผลการดำเนินงานและการจัดเก็บเอกสารทางการเงิน
2. ผู้รับทุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ และวางแผนการทำงานโครงการ
3. ผู้รับทุนสามารใช้ระบบรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ได้ 9.00 น. – 10.00 น. ชี้แจงความเป็นมาวัตถุประสงค์ และแนะนำขั้นตอนหลังจากได้รับทุนการสนับสนุน / การรายงานผลการดำเนินงาน และการเก็บเอกสารหลักฐานทางการเงิน 10.00 – 11.00 น. โรงเรียนผู้รับทุนแนะนำโครงการ และวางแผนปฏิทินการทำกิจกรรม ร่วมทั้งแลกเปลี่ยนผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินโครงการกิจกรรมทางกาย 11.00 – 12.00 น. แนะนำระบบรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ (www.pathailand.com) 12.00 น. - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 15.30 น.ปฏิบัติการทดลองคีย์ข้อมูลรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ (www.pathailand.com) |
|
แนะนำให้ทุกโรงเรียน ไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับกลุ่มสาระวิชาด้วย / สามารถใช้ออกกำลังกายได้ทุกคาบเรียน / ปรับกิขกรรมให้มี Active learning
|
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ สมุทรสาคร | 11 ก.ย. 2562 | 11 ก.ย. 2562 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ณ มหาลัยการกีฬาแห่งชาติ จ.สมุทรสาคร |
|
ผลการดำเนินงาน 1. สร้างความเข้าใจกับผู้รับทุนในเรื่องการรายงานผลการดำเนินงานและการจัดเก็บเอกสารทางการเงิน 2. ผู้รับทุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ และวางแผนการทำงานโครงการ 3. ผู้รับทุนสามารถใช้ระบบรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ได้ ชี้แจงความเป็นมาวัตถุประสงค์ และแนะนำขั้นตอนหลังจากได้รับทุนการสนับสนุน/ การรายงานผลการดำเนินงาน และการเก็บเอกสารหลักฐานทางการเงิน โดย ผศ.ดร.นพรัตน์ พบลาภ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ สมุทรสาคร (สถาบันพลศึกษาสมุทรสาคร) โรงเรียนผู้รับทุนแนะนำโครงการ และวางแผนปฏิทินการทำกิจกรรม ร่วมทั้งแลกเปลี่ยน ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินโครงการกิจกรรมทางกาย ปฏิบัติการทดลองคีย์ข้อมูลรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ (www.pathailand.com) โดย คุณสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน และทีมงาน สจรส.ม.อ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ กทม.กับภาคตะวันออก ณ ศูนย์กีฬาจุฬาฯ | 14 ก.ย. 2562 | 14 ก.ย. 2562 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ กทม.กับภาคตะวันออก ณ ห้องกิจกรรม ชั้น 2 อาคารเฉลิมราชสุดากีฬาสถาน ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
ผลการดำเนินงาน
1. สร้างความเข้าใจกับผู้รับทุนในเรื่องการรายงานผลการดำเนินงานและการจัดเก็บเอกสารทางการเงิน
2. ผู้รับทุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ และวางแผนการทำงานโครงการ
3. ผู้รับทุนสามารถใช้ระบบรายงานการติดตามและประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ได้ |
|
การประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (พี่เลี้ยงกองทุน) เพื่อการหนุนเสริมผู้เสนอโครงการ | 17 ก.ย. 2562 | 17 ก.ย. 2562 |
|
วันที่ 17 ก.ย. 62 - 19 ก.ย. 2562 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ |
|
วันที่ 17 กันยายน 2562 - สรุปการประชุมที่ผ่านมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ - แนวทางการจัดทำแผน โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ - ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนในระบบออนไลน์ โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร ดร.เพ็ญ สุขมาก และ ดร.ซอฟียะห์ นิมะ อาจารย์สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ วันที่ 18 กันยายน 2562
- แนวทางการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์
- การพัฒนาศักยภาพและออกแบบแนวทางการดำเนินโครงการในพื้นที่ประเด็นกิจกรรมทางกาย และฝึกปฏิบัติการในระบบออนไลน์ วันที่ 19 กันยายน 2562
พี่เลี้ยงนำเสนอแผนและโครงการที่ฝึกปฏิบัติการคีย์ข้อมูลในระบบออนไลน์
และให้ข้อเสนอแนะแนวทางปฏิบัติงานครั้งต่อไป เรื่องกิจกรรมทางกาย กิจกรรมที่เพียงพอ อ.พงค์เทพ แนะนำแผน ยกตัวอย่าง
บ้านเหล่า ปั่นจักรยานทุกวันพระ เริ่มจากเจ้าอาวาสมาเทศน์ออกกำลังกายปิ่นโต ปั่นจักรยานเพื่อเพิ่ม PA / เอาปิ่นโตมา / กลุ่มเครือข่าย |
|
การประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (พี่เลี้ยงกองทุน) เพื่อการหนุนเสริมผู้เสนอโครงการภาคใต้ ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ | 18 ก.ย. 2562 | 20 ก.ย. 2562 |
|
วันที่ 20 ก.ย. 2562 - 22 ก.ย. 2562 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ สจรส.ม.อ.ชั้น 14 ตึก LRC มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร์ อ.หาดใหญ๋ จ.สงขลา |
|
วันที่ 20 กันยายน 2562
- สรุปการประชุมที่ผ่านมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์
- แนวทางการจัดทำแผน วันที่ 21 กันยายน 2562
- แนวทางการพัฒนาข้อเสนอโครงการ
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์
- การพัฒนาศักยภาพและออกแบบแนวทางการดำเนินโครงการในพื้นที่ประเด็นกิจกรรมทางกาย และฝึกปฏิบัติการในระบบออนไลน์ วันที่ 22 กันยายน 2562
พี่เลี้ยงนำเสนอแผนและโครงการที่ฝึกปฏิบัติการคีย์ข้อมูลในระบบออนไลน์
และให้ข้อเสนอแนะแนวทางปฏิบัติงานครั้งต่อไป |
|
ประชุมเตรียมประเด็นการนำเสนอ PA ในงานความก้าวหน้ามติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 12 | 23 ก.ย. 2562 | 23 ก.ย. 2562 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมการนำเสนอรูปธรรมการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
ที่ระบุให้รายงาน ในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 12 |
|
- การนำเสนอจะนำเสนอในรูปแบบวีดีทัศน์ และนำเสนอโดยบุคคลบนเวที |
|
ประชุมพี่เลี้ยง วางแผนกับพื้นที่ทำงาน | 25 ต.ค. 2562 | 25 ต.ค. 2562 |
|
ประชุมปฐมนิเทศ พี่เลี้ยงวางแผนกับพื้นที่ทำงาน วันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม 2562 เวลา 11.00 – 16.00 น. ณ โรงแรมริชมอนด์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี |
|
ได้แลกเปลี่ยนสถานการณ์สุขภาพที่สำคัญของชุมชน ที่ใช้เป็นตัวตั้งต้นของการทาแผน และโครงการของกองทุน จากข้อมูลสาเหตุการตายและข้อมูลการสูญเสียปีสุขภาวะ พบว่า ปัญหาส่วนใหญ่ของชุมชนมีสาเหตุหลักต่อไปนี้ ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. ทีมวิชาการ พัฒนาคู่มือ เครื่องมือ เพื่อใช้ในการทำแผน การพัฒนาโครงการ การติดตามประเมินผล ตามแต่ละประเด็นสุขภาพ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
1. จากกระบวนการทำแผน จะได้รับรู้ข้อมูลสถานการณ์แต่ละปัญหาสุขภาพ และ เป้าหมายของการแก้ปัญหา ทั้งระดับชาติ ภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล
2.เกิดแผนสุขภาพในภาพรวมของอำเภอ โดยเป็นแผนที่จำแนกตามประเด็นปัญหา ที่เกิดจากแผนของกองทุนต่างๆ ในอำเภอ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการคลินิคพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย | 7 ธ.ค. 2562 | 7 ธ.ค. 2562 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการคลินิกพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย |
|
สรุปประชุมเชิงปฏิบัติการคลินิกพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย วันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม 2562 เวลา 08.30 – 18.00 น. ณ ห้องประชุมอโนดาต โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพมหานคร สรุปกระบวนการประชุมที่ผ่านมา 1) การเตรียมข้อมูลไปประชุมกับพื้นที่ที่ดำเนินการ ไปคุยเรื่องการทำแผน และพัฒนา 2) การประสานงานทำความเข้าใจกับผู้บริหาร และพื้นที่ดำเนินการ
- ทางทีมได้ประสานไปคุยกับ สปสช. เขต และ พชอ.ในพื้นที่ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องโครงการฯ กับพื้นที่ 3) การประชุมกับทีมพี่เลี้ยงของเขต - การประชุมคณะทำงานทีมพี่เลี้ยง จะชวน สปสช. สสอ. วางแผนงานร่วมกัน - ระบบติดตามของพี่เลี้ยง 1 คน จะดูแล 1 จังหวัด ทางกองทุนจะปรึกษา / พี่เลี้ยงดูแลรับผิดชอบกองทุน /ทางกองทุนจะมอบหมายให้พี่เลี้ยงเป็นที่ปรึกษา - เรื่องบริหารจัดการมอบหมายให้พี่เลี้ยงไปจัดการ / เป้าหมายทำให้กองทุนสามารถเขียนแผนและโครงการ - มีการเน้นพัฒนาทีมตัวเอง มีศักยภาพติดตามประเมินผลอย่างไร 4) การเตรียมพื้นที่
- เรื่องข้อมูลสำคัญที่สุดคือข้อมูลในพื้นที ต้องประสานแหล่งข้อมูลสุขภาพในพื้นที่ ในส่วนข้อมูล พชอ.ในพื้นที่ 5) การลงพื้นที่ปฏิบัติงาน 7) เทคนิคจัดกระบวนการ 8 ) การลงพื้นที่ติดตามเสริมพลัง - การติดตามเสริมพลัง พื้นที่หลักได้ดำเนินการ ทำแผนและโครงการแล้ว หลังจากนั้นทีมงานจะลงเยี่ยมติดตามแบบเสริมพลัง ดูว่ามีปัญหาการลงข้อมูลโปรแกรมอย่างไร ความคืบหน้า แผน โครงการ นำไปเสนอกับกองทุนมีจำนวนเท่าไร มีเสียงสะท้อนจากกองทุนตำบลอย่างไรบ้าง 9) หารือการรายงานความก้าวหน้าของงาน ลักษณะการกำกับติดตามกำกับทิศ ติดตามแผนและโครงการ กองทุน มีความคืบหน้าอย่างไรบ้าง มีเรื่องนวัตกรรมในเชิงพัฒนา มีปัญหาอะไรบ้าง และแก้ไขอย่างไรบ้าง |
|
ประชุมสรุปรายงานความก้าวหน้ามติ PA ในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ | 18 ธ.ค. 2562 | 18 ธ.ค. 2562 |
|
ประชุมสรุปรายงานความก้าวหน้ามติ PA ในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ |
|
ทางคณะทำงาน ได้แลกเปลี่ยนความก้าวหน้าของ มติ การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น ในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 12 พ.ศ.2562 ณ ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทารา ศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ ถ.แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ รายละเอียดความก้าวหน้ามติฯ แนบตามไฟล์เอกสาร |
|
ประชุมพัฒนาโครงการ จัดทำแผนกองทุนตำบล จ.สระแก้ว | 8 ม.ค. 2563 | 8 ม.ค. 2563 |
|
ฝึกปฏิบัติการใช้เว็บไซต์ในการ ทำแผนกองทุน ประเด็นกิจกรรมทางกาย พัฒนาโครงการ และติดตามโครงการ |
|
การประชุม 8 มกราคม 63 การพัฒนาศักยภาพในการ Coaching Coaching การกำหนดพื้นที่นำร่อง 3 พื้นที่นี้จะเป็นพื้นที่นำร่องกองทุนขนาดใหญ่ ได้แก สมุทรปราการ ชลบุรี สระแก้ว การสรุป
1. ทีมงานสุดท้ายมาเจอด้วยกันสรุปถอดบทเรียน การดำเนินงาน ช่วงบ่าย แบ่งกลุ่มเรียนรู้การใช้เว็บไซต์ในการทำแผนกิจกรรมทางกาย พัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการบันทึกข้อมูลในพื้นที่ |
|
ประชุมทำแผนกองทุน พัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ จ.มุกดาหาร | 17 ม.ค. 2563 | 17 ม.ค. 2563 |
|
ประชุมจัดทำแผนกองทุน พัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ ณ สาธารณสุขอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร |
|
การประชุมวันที่ 17 มกราคม 2563 ณ สาธารณสุขอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร
ผู้เข้าร่วมได้ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมจัดทำแผนกองทุน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการ แนะนำการทำแผนกองทุน 1) รู้ข้อมูลของเรื่องนั้นๆก่อน เป็นข้อมูลสถานการณ์นั้น 2) ขั้นตอนกำหนดเป้าหมาย 1 ปี คือ ใน 1 ปีจะคาดการณ์จะเพิ่มหรือลดสถานการณ์เป้าหมายนั้นได้อย่างไร 3) โครงการที่ควรดำเนินการ 4) พัฒนาโครงการ โดยให้บรรลุผลลัพธ์ ผลผลิตของโครงการ |
|
ประชุมหารือเตรียมworkshopงานพื้นที่สุขภาวะ และหารือเรื่องตัวชี้วัดแผน PA | 21 ม.ค. 2563 | 21 ม.ค. 2563 |
|
การประชุมหารือเตรียม workshop งานพื้นที่สุขภาวะ และหารือเรื่องตัวชี้วัด ณ รร.เอทัส ลุมพินิ ชั้น 26 ห้อง one80 |
|
ประเด็นประชุม ดังนี้
1. เตรียมเวที workshop งานพื้นที่สุขภาวะที่จะจัดขึ้นวันที่ 6-7 ก.พ. พ.ศ.2563 |
|
ประชุมทำแผนกองทุน พัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ จ.ระยอง | 22 ม.ค. 2563 | 22 ม.ค. 2563 |
|
ประชุมทำแผนกองทุน พัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ จ.ระยอง |
|
สรุปประชุมวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2563 เวลา 9.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลเมืองมาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง
การประชุมพัฒนาทีมพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ ให้สามารถทำแผน โครงการและใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการพร้อมปฏิบัติงานในพื้นที่ จ.ระยอง จันทบุรี ปราจีนบุรี ตราด พนมสารคาม และฉะเชิงเทรา |
|
การประชุมความก้าวหน้าประเมินความคุ้มทุนเศรษฐศาสตร์ PA | 29 ม.ค. 2563 | 29 ม.ค. 2563 |
|
วันที่ 29 มกราคม 2563 ณ สจรส.ม.อ.ชั้น 10 ได้จัดประชุมรายงานความก้าวหน้าการประเมินความคุ้มทุนเศรษฐศาสตร์ PA |
|
การประเมินเกณฑ์โครงการกิจกรรมทางกาย โดยใช้ ชุดความรู้ ศักยภาพคน ศักยภาพเครือข่าย พื้นที่ต้นแบบ Model กระบวนการนโยบาย และข้อตกลงร่วมกัน > การประเมินจะวัดในเรื่อง ความรู้ ทักษะ เครือข่าย โมเดลต้นแบบ และกระบวนการนโยบาย |
|
การอบรมเสริมทักษะการบริหารจัดการ แผนงาน/โครงการ ด้านการเงิน การบัญชี และพัสดุ ปี 2563 | 30 ม.ค. 2563 | 30 ม.ค. 2563 |
|
อบรมเสริมทักษะการบริหารจัดการ แผนงาน/โครงการ ด้านการเงิน การบัญชี และพัสดุ ปี 2563 วันที่ 30-31 ม.ค. 2563 นี้ ห้องประชุม 501 ชั้น 5 อาคารศูนย์เรียบนรู้สุขภาวะ |
|
|
|
ประชุมวางแผนตัวชี้วัด PA สสส. | 6 ก.พ. 2563 | 6 ก.พ. 2563 |
|
ประชุมวางแผนตัวชี้วัด PA สสส. |
|
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 ประชุมวางแผนตัวชี้วัดกิจกรรมทางกาย ณ สสส. |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมสรุปผลงานการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ | 7 ก.พ. 2563 | 7 ก.พ. 2563 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมสรุปผลงานการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ |
|
วัตถุประสงค์
1. เพื่อถอดบทเรียน ชุดความรู้ นวัตกรรม ศักยภาพของคนและเครือข่าย จุดเด่นของพื้นที่ต้นแบบ สรุป ข้อมูล Workshop พื้นที่สุขภาวะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังนี้
|
|
เข้าร่วมประชุมสรุปถอดบทเรียน โครงการส่งเสริมนวัตกรรมฯ ณ จ.สมุทรสงคราม | 22 ก.พ. 2563 | 22 ก.พ. 2563 |
|
ประชุมสรุปถอดบทเรียน โครงการส่งเสริมนวัตกรรมฯ ณ จ.สมุทรสงคราม |
|
สจรส.มอ.เข้าร่วมประชุม ถอดบทเรียน กับโครงการส่งเสริมนวัตกรรม การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ วันที่ 22-23 กุมภาพันธ์ 2563 ณ บ้านทิพย์สวนทอง (อัมพวา) อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม ทางโครงการได้คัดเลือกโรงเรียนตัวอย่างภูมิภาคละ 1 โรงเรียน เพื่อนำไปเป็นต้นแบบกับโรงเรียนอื่นๆต่อไป และทีมทำงานได้วางแผนการขับเคลื่อนงานในอนาคต |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เขต 12 | 5 มี.ค. 2563 | 5 มี.ค. 2563 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เขต 12 วันที่ 5-6 มีนาคม พ.ศ. 2563 ณ ห้องประชุม 1402 ชั้น 14 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ฯ (อาคาร LRC) สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา |
|
สรุปประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เขต 7,8,9,10 | 11 มี.ค. 2563 | 11 มี.ค. 2563 |
|
วันที่ 11-12 มีนาคม พ.ศ. 2563 ณ ห้องนภาลัย โรงแรมราชาวดี รีสอร์ทแอนด์โฮเทล อ.เมือง จ.ขอนแก่น |
|
|
|
ประชุมจัดทำสื่อวีดีทัศน์เผยแพร่ แนะนำเรื่องการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามโครงการ ผ่านระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล | 2 เม.ย. 2563 | 2 เม.ย. 2563 |
|
วันที่ 2 เมษายน และวันที่ 9 เมษายน 2563 ประชุมจัดทำสื่อวีดีทัศน์เผยแพร่ แนะนำเรื่องการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามโครงการ ผ่านระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล |
|
การจัดทำสื่อวีดิทัศน์เผยแพร่นี้ เพื่อเพิ่มความเข้าใจในการใช้เว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล http://localfund.happynetwork.org/ ได้มีความเข้าใจมากขึ้น โดยพี่เลี้ยงและผู้รับผิดชอบกองทุนฯ และผู้เสนอโครงการกองทุนตำบลนั้น สามารถเข้ามาเรียนรู้ผ่านออนไลน์สื่อวีดิทัศน์นี้ต่อไปได้ เนื้อหาประกอบด้วย |
|
ประชุมออนไลน์ด้วยระบบ ZOOM กับพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล 4 ภาค เพื่อวางแผนและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ | 16 เม.ย. 2563 | 16 เม.ย. 2563 |
|
ประชุมออนไลน์ด้วยระบบ ZOOM กับพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล 4 ภาค เพื่อวางแผนและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ |
|
สถานการณ์การดำเนินงานขณะนี้ไม่สามารถลงพื้นที่ได้ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโควิด ทางทีมทำงาน ได้ปรับแผนโดยการประชุมออนไลน์ด้วยระบบ ZOOM กับพี่เลี้ยง 4 ภาค การประชุมได้เน้นการตรวจสอบข้อมูลให้มีคุณภาพ ในเรื่องข้อมูลการทำแผน ข้อมูลการพัฒนาโครงการ และข้อมูลติดตามโครงการ ผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลฯ https://localfund.happynetwork.org/ |
|
ประชุมทีมติดตามเว็บกองทุนสุขภาพตำบล | 12 พ.ค. 2563 | 12 พ.ค. 2563 |
|
ประชุมทีมตรวจติดตามเว็บกองทุนฯ ผ่านระบบ ZOOM ออนไลน์ |
|
ประเด็นการประชุม ดังนี้ |
|
ประชุมคณะทำงานวิชาการ สจรส.ม.อ. | 14 พ.ค. 2563 | 14 พ.ค. 2563 |
|
ประชุม พิจารณาคู่มือการจัดการโควิด |
|
การจัดการ Covid 19 แบ่งเป็น 3 ระยะ วิธีการสำคัญ
1. ความรู้ ความเข้าใจ |
|
ประชุมทีมกองทุนตำบลฯ เขต 5 | 14 พ.ค. 2563 | 14 พ.ค. 2563 |
|
วางแผนการทำงานประชุมกับพี่เลี้ยงเขต 5 และทีมทำงาน สจรส.มอ. ประชุมโดยผ่านระบบ ZOOm |
|
|
|
ประชุม ZOOM กับพี่เลี้ยงกองทุนตำบลฯ 4 ภาค | 18 พ.ค. 2563 | 18 พ.ค. 2563 |
|
ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการจัดการวิดในเว็บกองทุนสุขภาพตำบลฯ |
|
ทางทีมวิชาการ สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ ทั้ง 12 เขต ทั่วประเทศ ประชุมแลกเปลี่ยนการทำแผนและพัฒนาโครงการจัดการโควิด ปัจจัยกำหนดสุขภาพในการจัดการโควิด |
|
ประชุมทีมกองทุนตำบลฯ เขต 7,8,9 ที่ จ.ขอนแก่น | 19 พ.ค. 2563 | 19 พ.ค. 2563 |
|
ประชุมวางแผนทีมกองทุนตำบลฯ เขต 7,8,9 และการติดตามประเมินผล และผ่านระบบ zoom วันที่ 19 พฤษภาคม 2563 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ คลินิกนพ.วิทยาฯ ชั้น 5 จ.ขอนแก่น |
|
ทีมพี่เลี้ยงได้วางแผนลงพื้นที่ หลังจากสถานการณ์โควิดเริ่มคลี่คลาย โดยลงพื้นที่เป้าหมายสำคัญในการติดตามประเมินผลก่อน โดยปรับแผนถ้าพื้นที่ใดไม่สะดวกนัดประชุมในพื้นที่ได้ ให้ใช้ระบบ zoom เป็นการประชุมแทน โดยตั้งเป้าหมายในการทำแผน ปี 63 และ ปี 64 รวมทั้งการพัฒนาโครงการและติดตามให้ได้ตามเป้าหมายต่อไป |
|
ประชุมออนไลน์ ZOOM วางแผนงานกองทุนสุขภาพตำบล 12 เขต | 25 พ.ค. 2563 | 25 พ.ค. 2563 |
|
วางแผนงานกองทุนสุขภาพตำบล 12 เขต |
|
เนื่องด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 จนถึงเดือนพฤษภาคม 2563 ทำให้การดำเนินงานในพื้นที่ในการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลโครงการมีอุปสรรคในเรื่องการเดินทางและไม่สามารถจัดประชุมกับกลุ่มคนหมู่มากได้ ทางสถาบันได้ปรับแผนประชุมออนไลน์วางแผนงานใหม่กับพี่เลี้ยงทั้ง 12 เขต โดยตั้งเป้าหมายดำเนินงานให้เสร็จสิ้นภายใน 3 เดือนนี้ในเรื่องทำแผนงาน และพัฒนาโครงการ |
|
ประชุมการวิเคราะห์ข้อมูลเว็บ PA | 26 พ.ค. 2563 | 26 พ.ค. 2563 |
|
ประชุมการวิเคราะห์ข้อมูลเว็บ PA |
|
หลังจากทางโรงเรียนได้ทำกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมเสร็จสิ้นโครงการแล้ว และมีการกรอกข้อมูลเข้ามาในระบบออนไลน์ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถนำไปวิเคราะห์ภาพรวมการดำเนินโครงการได้ ทางโปรแกรมเมอร์ได้ประชุมกับทีมงาน พบว่าสามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ เช่น |
|
ประชุมรายงานความก้าวหน้าการประเมินความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย | 27 พ.ค. 2563 | 27 พ.ค. 2563 |
|
วันที่ 27 พฤษภาคม 2563 ประชุมรายงานความก้าวหน้าการประเมินความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย ณ สถาบันนโยบายสาธารณะ ชั้น 10 ตึก LRC มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
|
ได้ประเมินแนวทาง ดังนี้ |
|
ประชุมเตรียมนำเสนอการสังเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมทางกาย เว็บ PA | 2 มิ.ย. 2563 | 2 มิ.ย. 2563 |
|
ประชุมเตรียมนำเสนอเรื่องการสังเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมทางกาย วันที่ 2 มิถุนายน 2563 ณ สจรส.ม.อ.ชั้น 14 ห้อง 1405 |
|
|
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปบทเรียนในการพัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลผ่านระบบออนไลน์ https://www.pathailand.com | 4 มิ.ย. 2563 | 4 มิ.ย. 2563 |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปบทเรียนในการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลผ่านระบบออนไลน์ https://www.pathailand.com วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน 2563 เวลา 09.00 – 12.00 น. กล่าวต้อนรับ และสรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมาของโครงการส่งเสริมนวัตกรรม การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ |
|
- Website ช่วยอะไรบ้าง
- รายงานงวด รายงานฉบับสมบูรณ์ แลกเปลี่ยนเรื่องการจัดการระบบเว็บไซต์ PA
- การพัฒนาโครงการ เมื่อทางโรงเรียนเขียนข้อเสนอโครงการเป็นที่เรียบร้อย ให้กด “ส่งพิจารณา” แล้วโครงการนั้นจะเข้ามาอยู่ในช่องพิจารณาเพื่อนำไปสู่การพิจารณาของคณะกรรมการต่อไปได้ |
|
นำเสนอผลการศึกษา เศรษฐศาสตร์กิจกรรมทางกาย | 29 ก.ค. 2563 |
|
|
|
|
|
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ | 30 ก.ค. 2563 |
|
|
|
|
|